Mind Mapping (เนื้อหาครู)
Web เชื่อมโยงสาระวิชา
คำถามหลัก(Big Question) : งานปั้นมีความเกี่ยวข้องสัมพันธ์กับวิถีชีวิตเราและสิ่งอื่นอย่างไร
?
ปฏิทินการจัดการเรียนรู้บูรณาการ PBL (Problem Based
Learning)
หน่วย : ช่างปั้น ระดับชั้นประถมศึกษาปีที่ 1 ภาคเรียนที่ 2 (Quarter 3) ปีการศึกษา
2559
Week
|
Input
|
Process
|
Output
|
Outcome
|
1
25-28 ต.ค.59
|
โจทย์ :
สร้างฉันทะ /สร้างแรงบันดาลใจ
- สิ่งที่อยากเรียนรู้/ ชื่อหน่วย
- สิ่งที่รู้แล้วและสิ่งที่อยากเรียนรู้
คำถาม
- นักเรียนอยากเรียนรู้เรื่องอะไร เพราะเหตุใดจึงอยากเรียนรู้เรื่องนี้
?
เครื่องมือคิด
- Brainstorms
- Round Robin
- Wall and Talk
- Card and Chart
-
Blackboard Share
- Show and Share
ผู้ร่วมสร้างการเรียนรู้
- ครู
- นักเรียน
สื่อ / แหล่งเรียนรู้ - บรรยากาศภายในชั้นเรียน - บริเวณรอบโรงเรียน
- คลิปวีดีโอ “กระบี่มือหนึ่ง ตอน นักปั้นจิ๋ว”
- ดินปั้นชนิดต่างๆ
|
- นักเรียนแต่ละคนเล่าถึงสิ่งที่ตนเองปั้นมาจากบ้าน (Home
School day ) คนละ 5 อย่าง
- ครูใช้คำถามกระตุ้นการคิด “นักเรียนปั้นเป็นอะไร
ทำไมถึงเลือกปั้นสิ่งนั้น
และใช้อะไรในการปั้น ปั้นกับใครบ้าง ”
- นักเรียนได้ตั้งคำถามสิ่งที่อยากรู้จากสิ่งที่เพื่อนปั้นมา
- นักเรียนร่วมกันแยกชนิดของดินที่ปั้นมา
- เดินสำรวจสิ่งต่างๆ รอบบริเวณโรงเรียน
- ครูใช้คำถามกระตุ้นการคิด
“สังเกตเห็นอะไรทีเปลี่ยนแปลงไปบ้าง
รู้สึกอย่างไร สิ่งที่เราเห็นทำจากอะไร
เมื่อก่อนเป็นอย่างไร ทำไมถึงเปลี่ยนไป ?”
- นักเรียนแต่ละกลุ่มหาดินในโรงเรียนสำหรับเตรียมหมักดินในการปั้น
- นักเรียนแต่ละกลุ่มเตรียมหมักดิน
- ครูใช้คำถามกระตุ้นการคิด “เราจะเตรียมดินอย่างไรให้เหมาะกับการปั้น”
- ครูให้นักเรียนดูคลิปวีดีโอ “กระบี่มือหนึ่ง ตอน นักปั้นจิ๋ว”
- ครูใช้คำถามกระตุ้นการคิด “นักเรียนสังเกตเห็นอะไร รู้สึกอย่างไร
สิ่งที่เห็นคืออะไร ทำไมถึงเป็นเช่นนั้น เพราะเหตุใด”
- ครูใช้คำถามกระตุ้นการคิด “นักเรียนอยากเรียนรู้เรื่องอะไร
เพราะเหตุใดจึงอยากเรียนรู้เรื่องนี้?"
- นักเรียนวาดภาพหรือเขียนสิ่งที่อยากเรียนรู้
พร้อมเหตุผลที่อยากเรียนรู้
- ครูและนักเรียนร่วมกันจัดหมวดหมู่เรื่องที่อยากเรียนรู้
- นำเสนอเรื่องที่อยากเรียนรู้
- นักเรียนร่วมกันตั้งชื่อหน่วยการเรียนรู้ นักเรียนจะตั้งชื่อหน่วยให้น่า สนใจ และอยากเรียนรู้อย่างไร?
- นักเรียนตั้งคำถามเกี่ยวกับสิ่งที่อยากเรียนรู้
- สรุปการเรียนรู้รายสัปดาห์
กิจกรรม PBL คู่ขนาน
ครู นักเรียนและผู้ปกครองร่วมกันเตรียมดินสำหรับเพาะต้นอ่อนใน Q.3/59
|
ภาระงาน
- พูดคุยแสดงความคิดเห็นร่วมกันเกี่ยวกับกิจกรรมที่ได้ทำ
- พูดคุย ถามตอบเกี่ยวกับคลิปวีดีโอที่ได้ดู
- พูดคุยแสดงความคิดเห็นเกี่ยวกับกิจกรรม PBL
คู่ขนาน
- พูดคุยแสดงความคิดเห็นเกี่ยวกับสิ่งที่อยากเรียนรู้และชื่อหน่วย
- พูดคุยแสดงความคิดเห็นสิ่งที่รู้แล้วสิ่งที่อยากเรียนรู้
- พูดคุยแสดงความคิดเห็นร่วมกันเกี่ยวกับกิจกรรมที่ได้ทำตลอดทั้งสัปดาห์
ชิ้นงาน
- เขียนและวาดภาพขั้นตอนการเตรียมดินปั้น
- วาดภาพสิ่งที่อยากเรียนรู้
- สรุปการเรียนรู้รายสัปดาห์ |
ความรู้
เข้าใจ และสามารถพูดอธิบายเกี่ยวกับสิ่งที่ตนเองอยากเรียนรู้ให้ผู้อื่นเข้าใจได้อย่างสมเหตุสมผล ทักษะ : - ทักษะชีวิต
- ทักษะการคิดสร้างสรรค์
- ทักษะการสื่อสาร - ทักษะการอยู่ร่วมกันกับผู้อื่น คุณลักษณะ :
- เคารพ สิทธิ หน้าที่ เห็นคุณค่าและเชื่อมโยงความคิดเห็นของตนเองและผู้อื่น
-
- ยอมรับฟังความคิดเห็นของผู้อื่น
- มีความรับผิดชอบและมุ่งมั่นในการทำงาน
- กระตือรือร้นในการเรียนรู้
- มีจิตอาสาในการทำกิจกรรมต่างๆ มีน้ำใจช่วยเหลือ แบ่งปัน
- ยินดีและพอใจในสิ่งที่ตนเองมี เคารพสิทธิซึ่งกันและกัน
|
2
31 ต.ค. -4 พ.ย.59
|
โจทย์ :
ออกแบบและวางแผนปฏิทินการเรียนรู้
คำถาม
นักเรียนจะออกแบบและวางแผนการเรียนรู้ใน Quarter
นี้อย่างไร ?
เครื่องมือคิด
- Brainstorms
- Think Pair Share
- Mind Mapping
- Card and Chart
- Wall Thinking
- Show and Share
ผู้ร่วมสร้างการเรียนรู้
- ครู
- นักเรียน
- ผู้ปกครอง
สื่อ / แหล่งเรียนรู้
-บรรยากาศภายในชั้นเรียน
- ดินปั้นชนิดต่างๆ
-ถังน้ำ
- น้ำ
-ไม้สำหรับกวนดิน
|
- ครูและนักเรียนทบทวนกิจกรรมในสัปดาห์ที่ผ่านมาร่วมกัน
- นักเรียนแต่ละกลุ่มทดลองปั้นดินที่กลุ่มตนเองหมักไว้แล้ว
- ครูใช้คำถามกระต้นการคิด
“ดินแต่ละกลุ่มเกิดการเปลี่ยนแปลงอย่างไร ทำไมถึงเป็นอย่างนั้น ?
ทำไมดินถึงไม่มีความเหนียว เราจะทำอย่างไรให้ดินมีความเหนียว”
- นักเรียนแต่ละกลุ่มหาดินและหมักดินครั้งที่
2
- ครูใช้คำถามกระตุ้นการคิด
“ทำไมถึงเลือกใช้ดินชนิดนี้ เราจะทำอย่างไรให้ดินมีความเหนียว? ”
-
นักเรียนแต่ละกลุ่มลงมือปั้นดินที่หมักเตรียมไว้แล้วอีกครั้ง
-
ครูใช้คำถามกระตุ้นการคิด “ดินที่เราปั้นรอบนี้ เหมือนหรือต่างจากรอบแรกอย่างไร”
- ครูและนักเรียนร่วมกันออกแบบและวางแผนการเรียนรู้ใน Q.3/59
- นักเรียนนำเสนอปฏิทินการเรียนรู้ตลอด
10 สัปดาห์
- เขียนและวาดภาพสรุปองค์ความรู้ก่อนเรียน
- สรุปการเรียนรู้รายสัปดาห์
-
ครู นักเรียนและผู้ปกครองร่วมกันทำเตาเผาเพื่อเตรียมใช้สำหรับเผางานปั้นจากดิน
กิจกรรม PBL คู่ขนาน
- ครูและนักเรียนร่วมกันเพาะต้นอ่อนทานตะวัน
- นักเรียนบันทึกผลลงในสมุดเล่มเล็ก
|
ภาระงาน
- พูดคุยแสดงความคิดเห็นเกี่ยวกับการเตรียมดินหมักดินสำหรับปั้น
- พูดคุยแสดงความคิดเห็นร่วมกันเกี่ยวกับออกแบบและวางแผนปฏิทินการเรียนรู้ใน Q.3/59
- พูดคุยแสดงความคิดเห็นเกี่ยวกับกิจกรรม PBL
คู่ขนาน
- พูดคุยแสดงความคิดเห็นร่วมกันเกี่ยวกับกิจกรรมที่ได้ทำตลอดทั้งสัปดาห์
ชิ้นงาน
- ปฏิทินการเรียนรู้หน่วย “ช่างปั้น”
- หมักดินและปั้น
- ทำเตาเผา
- สรุปการเรียนรู้รายสัปดาห์
|
ความรู้
สามารถออกแบบและวางแผนการเรียนรู้ของตนเองร่วมกับผู้อื่นได้
อย่างมีขั้นตอน และสร้างสรรค์
ทักษะ :
ทักษะชีวิต
ทักษะการคิดสร้างสรรค์
ทักษะการสื่อสาร ทักษะการจัดการข้อมูล ทักษะการอยู่ร่วมกันกับผู้อื่น คุณลักษณะ :
- เคารพ สิทธิ หน้าที่ เห็นคุณค่าและเชื่อมโยงความคิดเห็นของตนเองและผู้อื่น
-
- ยอมรับฟังความคิดเห็นของผู้อื่น
- มีความรับผิดชอบและมุ่งมั่นในการทำงาน
- กระตือรือร้นในการเรียนรู้
- มีจิตอาสาในการทำกิจกรรมต่างๆ มีน้ำใจช่วยเหลือ แบ่งปัน
- ยินดีและพอใจในสิ่งที่ตนเองมี เคารพสิทธิซึ่งกันและกัน
|
3
22–26
ส.ค.59
|
โจทย์ :
ปั้นจากวัสดุธรรมชาติ
- ดินเหนียว
- ดินทราย
คำถาม
- นักเรียนคิดว่าดินเหนียว ดินทราย เหมือนหรือต่างกันอย่างไร ?
- นักเรียนคิดว่าอะไรที่ช่วยทำให้ดินมีความเหนียว แล้วสามารถนำมาปั้นได้?
- ทำไมต้องเผาดิน แล้วการเผาดินให้สุกทำอย่างไร?
เครื่องมือคิด
- Brainstorms
-
Blackboard Share
- Think Pair Share
- Wall Thinking
- Show and Share
ผู้ร่วมสร้างการเรียนรู้
- ครู
- นักเรียน
- ผู้ปกครอง
สื่อ / แหล่งเรียนรู้
- บรรยากาศภายในชั้นเรียน
- ดินเหนียว
- ดินทราย
- คลิปวีดีโอรายการ “คุ้มวิมานดิน”
|
- ครูและนักเรียนทบทวนกิจกรรมในสัปดาห์ที่ผ่านมาร่วมกัน
- นักเรียนแต่ละกลุ่มหาดินที่เหมาะสมกับการปั้น
-นักเรียนแต่ละกลุ่มเตรียมหมักดินสำหรับปั้นรอบที่
3
- ครูนำ ดินเหนียว ดินทราย มาให้นักเรียนสังเกต
- ครูใช้คำถามกระตุ้นการคิด
“นักเรียนสังเกตเห็นอะไร เห็นสิ่งนั้นแล้วนึกถึงอะไร ลักษณะเหมือนหรือแตกต่างกันอย่างไร
ใช้ทำอะไรได้บ้าง ” “นักเรียนคิดว่าอะไรที่ช่วยทำให้ดินมีความเหนียว
แล้วสามารถนำมาปั้นได้ ?
เราจะมีวิธีการทำอย่างไรในการปั้นดินทราย เราจะมีวิธีการเก็บรักษาดินเหนียวไว้นานๆ
ได้อย่างไร? ดินเหนียวสามารถเพาะปลูก เช่น ผักผลไม้
หรือข้าวได้หรือไม่ เพราะเหตุใด?
-
ครูให้นักเรียนแต่ละคนเลือกที่จะปั้นในสิ่งที่ชอบจากดินเหนียวที่หมักไว้แล้วและดินทราย
คนละ 5 อย่าง
-
ครูใช้คำถามกระตุ้นการคิด “นักเรียนปั้นเป็นอะไร ทำไมถึงเลือกสิ่งนี้ในการปั้น
สิ่งที่ปั้นมีขนาดเล็กหรือใหญ่ เราจะนำไปใช้ประโยชน์ได้อย่างไร” ?”
จะทำอย่างไรให้สิ่งที่เราปั้นจากดินนั้นคงสภาพและใช้งานได้จริง?
-
ครูและนักเรียนร่วมกันทดลองเผ่าดินที่ปั้นเป็นรูปต่างๆ แล้ว ร่วมกันกับผู้ปกครอง
-
ครูใช้คำถามกระตุ้นการคิด “เราจะทำอย่างไรให้ดินที่เราปั้นนั้นแห้ง
แล้วคงรูปดังเดิม?”
“นักเรียนคิดว่าดินเมื่อโดนความร้อนจะเป็นอย่างไร
แล้วสิ่งที่ปั้นไว้จะเปลี่ยนไปอย่างไร คิดว่าเป็นเพราะอะไร?” การเผาดินให้สุกทำอย่างไร?
- สรุปการเรียนรู้รายสัปดาห์
กิจกรรม PBL คู่ขนาน
- นักเรียนร่วมกันเก็บต้นอ่อนที่เพาะในสัปดาห์ที่ผ่านมา
- นักเรียนเตรียมเพาะต้อนอ่อนทานตะวัน
- นักเรียนบันทึกผลลงในสมุดเล่มเล็ก
|
ภาระงาน
- พูคุยแสดงความคิดเห็นเกี่ยวกับกิจกรรมที่ได้ทำ
- พูดคุยแสดงความคิดเห็นเกี่ยวกับกิจกรรม PBL
คู่ขนาน
- พูดคุยแสดงความคิดเห็นร่วมกันเกี่ยวกับกิจกรรมที่ได้ทำตลอดทั้งสัปดาห์
ชิ้นงาน
- ปั้นจากวัสดุธรรมชาติ
- สรุปการเรียนรู้รายสัปดาห์
|
ความรู้ :
เข้าใจและสามารถอธิบายเกี่ยวกับวัสดุธรรมชาติที่สามารถนำมาปั้น
และปรับใช้กับชีวิตประจำวันของตนเองได้
ทักษะ :
ทักษะชีวิต
ทักษะการคิดสร้างสรรค์
ทักษะการสื่อสาร ทักษะการจัดการข้อมูล ทักษะการอยู่ร่วมกันกับผู้อื่น ทักษะการเรียนรู้อย่างต่อเนื่อง
คุณลักษณะ :
- เคารพ สิทธิ หน้าที่ เห็นคุณค่าและเชื่อมโยงความคิดเห็นของตนเองและผู้อื่น
-
- ยอมรับฟังความคิดเห็นของผู้อื่น
- มีความรับผิดชอบและมุ่งมั่นในการทำงาน
- กระตือรือร้นในการเรียนรู้
- มีจิตอาสาในการทำกิจกรรมต่างๆ มีน้ำใจช่วยเหลือ แบ่งปัน
- ยินดีและพอใจในสิ่งที่ตนเองมี เคารพสิทธิซึ่งกัน
|
4
7-11 พ.ย.59
|
โจทย์ :
ปั้นจากวัสดุธรรมชาติ
- ขี้เลื่อย
- ขี้วัว
- แกลบ
คำถาม
- นักเรียนคิดว่า ขี้เลื่อย ขี้วัว
แกลบ
เหมือนหรือต่างกันอย่างไร ?
- จะเกิดอะไรขึ้นถ้านำขี้วัวที่ปั้นแล้วมาจุดไฟ ?
เครื่องมือคิด
- Brainstorms
-
Blackboard Share
- Think Pair Share
- Wall Thinking
- Show and Share
ผู้ร่วมสร้างการเรียนรู้
- ครู
- นักเรียน
สื่อ / แหล่งเรียนรู้
- บรรยากาศภายในชั้นเรียน
- ขี้เลื่อย
- ขี้วัว
- แกลบ
- กาว
- น้ำ
|
- ครูและนักเรียนทบทวนกิจกรรมในสัปดาห์ที่ผ่านมาร่วมกัน
- ครูนำ ขี้เลื่อย ขี้วัว แกลบ มาให้นักเรียนสังเกต
-
ครูใช้คำถามกระตุ้นการคิด “นักเรียนสังเกตเห็นอะไร เห็นสิ่งนั้นแล้วนึกถึงอะไร
ลักษณะเหมือนหรือแตกต่างกันอย่างไร ใช้ทำอะไรได้บ้าง ”
- ครูและนักเรียนร่วมกันผสมขี้เลื่อยกับกาว แกลบผสมกาว แล้วนำมาปั้น
-
ครูให้นักเรียนแต่ละคนเลือกวัสดุในการปั้นจากขี้เลื่อย แกลบ
-
ครูใช้คำถามกระตุ้นการคิด “ทำไมเราต้องผสมกาวลงไป
นักเรียนคิดว่าทำไมต้องนำไปตากแดดหรือผึ่งลม”
-
ครูใช้คำถามกระตุ้นการคิด “นักเรียนปั้นเป็นอะไร ทำไมถึงเลือกสิ่งนี้ในการปั้น
สิ่งที่ปั้นมีขนาดเล็กหรือใหญ่ เราจะนำไปใช้ประโยชน์ได้อย่างไร”
-
ครูและนักเรียนหาขี้วัว แล้วนำมาปั้น
- ครูและนักเรียนร่วมกันทดลองนำขี้วัวที่ปั้นแล้วมาจุดไฟ
-
ครูใช้คำถามกระตุ้นการคิด “ถ้าเรานำขี้วัวมาจุดไฟจะเกิดอะไรขึ้น”
- สรุปการเรียนรู้รายสัปดาห์
กิจกรรม PBL คู่ขนาน
- นักเรียนร่วมกันเก็บต้นอ่อนที่เพาะในสัปดาห์ที่ผ่านมา
- นักเรียนเตรียมเพาะต้อนอ่อนทานตะวัน
- นักเรียนบันทึกผลลงในสมุดเล่มเล็ก
|
ภาระงาน
- พูคุยแสดงความคิดเห็นเกี่ยวกับกิจกรรมที่ได้ทำ
- พูดคุยแสดงความคิดเห็นเกี่ยวกับกิจกรรม PBL
คู่ขนาน
- พูดคุยแสดงความคิดเห็นร่วมกันเกี่ยวกับกิจกรรมที่ได้ทำตลอดทั้งสัปดาห์
ชิ้นงาน
- ปั้นขี้เลื่อย แกลบ ขี้วัว
- สรุปการเรียนรู้รายสัปดาห์
|
ความรู้ :
เข้าใจและสามารถอธิบายเกี่ยวกับวัสดุธรรมชาติที่สามารถนำมาปั้น
และปรับใช้กับชีวิตประจำวันของตนเองได้
ทักษะ :
ทักษะชีวิต
ทักษะการคิดสร้างสรรค์
ทักษะการสื่อสาร ทักษะการจัดการข้อมูล ทักษะการอยู่ร่วมกันกับผู้อื่น ทักษะการเรียนรู้อย่างต่อเนื่อง
คุณลักษณะ :
- เคารพ สิทธิ หน้าที่ เห็นคุณค่าและเชื่อมโยงความคิดเห็นของตนเองและผู้อื่น
-
- ยอมรับฟังความคิดเห็นของผู้อื่น
- มีความรับผิดชอบและมุ่งมั่นในการทำงาน
- กระตือรือร้นในการเรียนรู้
- มีจิตอาสาในการทำกิจกรรมต่างๆ มีน้ำใจช่วยเหลือ แบ่งปัน
- ยินดีและพอใจในสิ่งที่ตนเองมี เคารพสิทธิซึ่งกัน
|
5
14-18 พ.ย.59
|
โจทย์ :
ปั้นจากวัสดุสังเคราะห์
- ดินน้ำมัน
- ดินญี่ปุ่น
- ดินเกาหลี
- ดินขนมปัง
คำถาม
นักเรียนคิดว่าดินน้ำมัน ดินญี่ปุ่น ดินเกาหลี
เหมือนหรือต่างกันอย่างไร?
เครื่องมือคิด
- Brainstorms
- Round Robin
- Show and Share
- Wall Thinking
ผู้ร่วมสร้างการเรียนรู้
- ครู
- นักเรียน
สื่อ / แหล่งเรียนรู้ - บรรยากาศภายในชั้นเรียน
- คลิปวีดีโอ
“ปั้นอาหารจิ๋ว และปั้นสัตว์ต่างๆ
- วัตถุในการทำดินปั้น
เช่นแป้งข้าวโพด กาว ออย น้ำมะนาวฯลฯ สำหรับทำดินญี่ปุ่น
สีโปสเตอร์
- อุปกรณ์ในการปั้น เช่น ตัวตัด ตัวหั่น
|
- ครูและนักเรียนทบทวนกิจกรรมในสัปดาห์ที่ผ่านมาร่วมกัน
- แบ่งนักเรียนเป็นกลุ่มในการทำดินญี่ปุ่น
ดินเกาหลี ดินขนมปัง (อย่างเช่น แป้งข้าวโพด แป้งแอนกประสงค์ กาว ออย โลชั่น น้ำมะนาวฯลฯ)
- ครูใช้คำถามกระตุ้นการคิด
“มีส่วนผสมของอะไรในการทำดิน ลักษณะของเนื้อดินเป็นอย่างไร ดินน้ำมัน ดินญี่ปุ่น
ดินเกาหลี เหมือนหรือต่างกันอย่างไร ดินแต่ละชนิดต่างกันอย่างไร?”
- นักเรียนได้ดูคลิปวีดีโอ “ปั้นอาหารจิ๋ว
และปั้นสัตว์ต่างๆ ดอกไม้ เครื่องประดับตกแต่ง
- ครูนำตัวอย่างที่ปั้นเสร็จแล้วและอุปกรณ์ในการปั้น
มาให้นักเรียนได้สังเกต
- นักเรียนปั้นสิ่งต่างๆจาก
ดินญี่ปุ่น ดินเกาหลี ดินน้ำมัน
- ครูใช้คำถามกระตุ้นการคิด
“ดินที่เราปั้นแล้วเกิดการเปลี่ยนแปลงอย่างไร อะไรที่ทำให้เกิดการเปลี่ยนแปลงกับดิน”
- สรุปการเรียนรู้รายสัปดาห์
กิจกรรม PBL คู่ขนาน
- นักเรียนร่วมกันเก็บต้นอ่อนที่เพาะในสัปดาห์ที่ผ่านมา
- นักเรียนเตรียมเพาะต้อนอ่อนทานตะวัน
- นักเรียนบันทึกสมุดเล่มเล็ก
|
ภาระงาน
- พูดคุยแสดงความคิดเห็นเกี่ยวกับกิจกรรมที่ได้ทำ
- พูดคุยแสดงความคิดเห็นเกี่ยวกับกิจกรรม PBL
คู่ขนาน
- พูดคุยแสดงความคิดเห็นร่วมกันเกี่ยวกับกิจกรรมที่ได้ทำตลอดทั้งสัปดาห์
ชิ้นงาน
- วาดภาพลำดับขั้นตอนการทำดินปั้น
- ปั้นจากดินน้ำมัน ดินญี่ปุ่น ดินเกาหลี
- สรุปการเรียนรู้รายสัปดาห์
|
ความรู้ :
เข้าใจและอธิบายเกี่ยวกับเกี่ยวกับวัสดุสังเคราะห์ที่สามารถนำมาปั้น
และนำไปปรับใช้ในชีวิตประจำวันได้
ทักษะ ทักษะชีวิต ทักษะการสื่อสาร ทักษะการจัดการข้อมูล ทักษะการอยู่ร่วมกันกับผู้อื่น ทักษะการเรียนรู้อย่างต่อเนื่อง คุณลักษณะ :
- เคารพ สิทธิ หน้าที่ เห็นคุณค่าและเชื่อมโยงความคิดเห็นของตนเองและผู้อื่น
-
- ยอมรับฟังความคิดเห็นของผู้อื่น
- มีความรับผิดชอบและมุ่งมั่นในการทำงาน
- กระตือรือร้นในการเรียนรู้
- มีจิตอาสาในการทำกิจกรรมต่างๆ มีน้ำใจช่วยเหลือ แบ่งปัน
- ยินดีและพอใจในสิ่งที่ตนเองมี เคารพสิทธิซึ่งกัน
|
6
21-25 พ.ย.59
|
โจทย์ :
ปั้นจากกระดาษ
- กระดาษ (เช่น กระดาษลัง หนังสือพิมพ์ฯลฯ )
- กระดาษทิชชู
คำถาม
เราจะมีวิธีการทำอย่างไรให้งานปั้นจากกระดาษคงทนและใช้งานได้จริง?
เครื่องมือคิด
- Brainstorms
- Key Question
- Think Pair Share
- Show and Share
- Wall Thinking
ผู้ร่วมสร้างการเรียนรู้
- ครู
- นักเรียน
สื่อ / แหล่งเรียนรู้ - บรรยากาศภายในชั้นเรียน
- กระดาษ
- กระดาษทิชชู
- กาว
- สี
- น้ำ
|
- ครูและนักเรียนทบทวนกิจกรรมในสัปดาห์ที่ผ่านมาร่วมกัน
- ครูเตรียมอุปกรณ์
กระดาษ กาว น้ำ สีโปสเตอร์ น้ำ มาให้นักเรียนร่วมกันสังเกตและทำ
- แบ่งนักเรียนออกเป็น 5
กลุ่ม ร่วมกันทำดินจากกระดาษเพื่อใช้สำหรับปั้น
- ครูใช้คำถามกระตุ้นการคิด “กระดาษทำจากอะไร นำไปทำอะไรได้บ้าง
ทำไมกระดาษเมื่อนำมาแช่น้ำแล้วถึงเปื่อยยุ่ย เราเติมกาวลงไปเพื่ออะไร
คิดว่าจะสามารถนำมาปั้นได้หรือไม่เพราะเหตุใด
ทำอย่างไรเมื่อปั้นเสร็จแล้วจะแห้ง”
“นักเรียนคิดว่าระหว่างดินกับกระดาษสำหรับการปั้น เหมือนหรือต่างกันอย่างไร”
- สรุปการเรียนรู้รายสัปดาห์
กิจกรรม PBL คู่ขนาน
- นักเรียนร่วมกันเก็บต้นอ่อนที่เพาะในสัปดาห์ที่ผ่านมา
- นักเรียนเตรียมเพาะต้อนอ่อนทานตะวัน
-
นักเรียนบันทึกสมุดเล่มเล็ก
|
ภาระงาน
- พูดคุยแสดงความคิดเห็นเกี่ยวกับกิจกรรมที่ได้ทำ
- พูดคุยแสดงความคิดเห็นเกี่ยวกับกิจกรรม PBL
คู่ขนาน
- พูดคุยแสดงความคิดเห็นร่วมกันเกี่ยวกับกิจกรรมที่ได้ทำตลอดทั้งสัปดาห์
ชิ้นงาน
- แผนภาพการทำดินปั้นจากกระดาษ
- ปั้นจากกระดาษ
- สรุปการเรียนรู้รายสัปดาห์
|
ความรู้ :
เข้าใจและอธิบายเกี่ยวกับเกี่ยวกับวัสดุสังเคราะห์ที่สามารถนำมาปั้น
และนำไปปรับใช้ในชีวิตประจำวันได้
ทักษะ ทักษะชีวิต ทักษะการสื่อสาร ทักษะการจัดการข้อมูล ทักษะการอยู่ร่วมกันกับผู้อื่น ทักษะการเรียนรู้อย่างต่อเนื่อง คุณลักษณะ :
- เคารพ สิทธิ หน้าที่ เห็นคุณค่าและเชื่อมโยงความคิดเห็นของตนเองและผู้อื่น
-
- ยอมรับฟังความคิดเห็นของผู้อื่น
- มีความรับผิดชอบและมุ่งมั่นในการทำงาน
- กระตือรือร้นในการเรียนรู้
- มีจิตอาสาในการทำกิจกรรมต่างๆ มีน้ำใจช่วยเหลือ แบ่งปัน
- ยินดีและพอใจในสิ่งที่ตนเองมี เคารพสิทธิซึ่งกัน
|
7
28พ.ย.-
2 ธ.ค.59
|
โจทย์ :
ปั้นกินได้
- ฟองดอง
- แป้งหมัก
คำถาม
การปั้นเกี่ยวข้องอย่างไรกับการทำอาหาร?
เครื่องมือคิด
- Brainstorms
- Blackboard Share
- Flow Chart
- Mind Mapping
- Show and Share
- Wall Thinking
ผู้ร่วมสร้างการเรียนรู้
- ครู
- นักเรียน
- ผู้ปกครอง
สื่อ / แหล่งเรียนรู้ - บรรยากาศภายในชั้นเรียน
- อุปกรณ์ในการทำฟองดอง น้ำตาลไอซิงค์ สีผสมอาหาร แป้ง ฯลฯ
|
- ครูและนักเรียนทบทวนกิจกรรมในสัปดาห์ที่ผ่านมาร่วมกัน
- นักเรียนดูคลิปวีดีโอ
“ปั้นฟองดอง”
- ครูและนักเรียนร่วมกันทำฟองดอง
- ครูใช้คำถามกระตุ้นการคิด
“ฟองดองมีส่วนผสมของอะไรบ้าง รสชาติเป็นอย่างไร เก็บรักษาอย่างไร”
-
นักเรียนแต่ละคนปั้นฟองดองของตนเองอย่างน้อยคนละ 5 อย่าง
- ครูและนักเรียนร่วมกันปั้นแป้งจี่กินได้ที่แต่ละคนจัดเตรียมมาร่วมกัน
- ครูใช้คำถามกระตุ้นการคิด
“ทำอย่างไรแป้งจะเหนียวแล้วสามารถนำมาปั้นได้
ถ้าแป้งที่เราปั้นนำไปต้มจะเปลี่ยนแปลงไปอย่างไร”
- สรุปการเรียนรู้รายสัปดาห์
กิจกรรม PBL คู่ขนาน
- นักเรียนร่วมกันเก็บต้นอ่อนที่เพาะในสัปดาห์ที่ผ่านมา
- นักเรียนเตรียมเพาะต้อนอ่อนทานตะวัน
- นักเรียนบันทึกสมุดเล่มเล็ก
|
ภาระงาน
- พูดคุยแสดงความคิดเห็นเกี่ยวกับกิจกรรมที่ได้ทำ
- พูดคุยแสดงความคิดเห็นเกี่ยวกับกิจกรรม PBL
คู่ขนาน
- พูดคุยแสดงความคิดเห็นร่วมกันเกี่ยวกับกิจกรรมที่ได้ทำตลอดทั้งสัปดาห์
ชิ้นงาน
- วาดภาพและเขียนขั้นตอนการทำฟองดอง
- ปั้นฟองดอง
-ปั้นแป้งจี่
- สรุปการเรียนรู้รายสัปดาห์
|
ความรู้ :
เข้าใจและสามารถอธิบายเกี่ยวกับการปั้นจากสิ่งที่กินได้และมีประโยชน์ต่อร่างกาย
และนำไปปรับใช้ในชีวิตประจำวัน
ทักษะ ทักษะชีวิต ทักษะการสื่อสาร ทักษะการจัดการข้อมูล ทักษะการอยู่ร่วมกันกับผู้อื่น ทักษะการเรียนรู้อย่างต่อเนื่อง คุณลักษณะ:
- เคารพ สิทธิ หน้าที่ เห็นคุณค่าและเชื่อมโยงความคิดเห็นของตนเองและผู้อื่น
-
- ยอมรับฟังความคิดเห็นของผู้อื่น
- มีความรับผิดชอบและมุ่งมั่นในการทำงาน
- กระตือรือร้นในการเรียนรู้
- มีจิตอาสาในการทำกิจกรรมต่างๆ มีน้ำใจช่วยเหลือ แบ่งปัน
- ยินดีและพอใจในสิ่งที่ตนเองมี เคารพสิทธิซึ่งกัน
|
8
13-16 ธ.ค.59
|
โจทย์ :
ปั้นกินได้
- ถั่วต่างๆ
- ข้าวปั้น
คำถาม
การปั้นเกี่ยวข้องอย่างไรกับการทำอาหาร?
เครื่องมือคิด
- Brainstorms
- Blackboard Share
- Key Question
- Show and Share
- Wall Thinking
ผู้ร่วมสร้างการเรียนรู้
- ครู
- นักเรียน
- ผู้ปกครอง
สื่อ / แหล่งเรียนรู้
- บรรยากาศภายในชั้นเรียน
- ถั่วชนิดต่างๆ
- ข้าว
|
- ครูและนักเรียนทบทวนกิจกรรมในสัปดาห์ที่ผ่านมาร่วมกัน
- นักเรียนแต่ละคนจัดเตรียมเมล็ดถั่วและอุปกรณ์ในการทำลูกชุปและข้าวปั้น
-
ครูและนักเรียนร่วมกันทำลูกชุปและข้าวปั้น
- ครูใช้คำถามกระตุ้นการคิด
“การปั้นเกี่ยวข้องอย่างไรกับการทำอาหาร?
-
นักเรียนนำลูกชุปที่ปั้นเรียบร้อยแล้วไปแบ่งปันให้กับพี่และน้อง คุณครูได้ชิม
- สรุปการเรียนรู้รายสัปดาห์
กิจกรรม PBL คู่ขนาน
- นักเรียนร่วมกันเก็บต้นอ่อนที่เพาะในสัปดาห์ที่ผ่านมา
- นักเรียนเตรียมเพาะต้อนอ่อนทานตะวัน
-
นักเรียนบันทึกสมุดเล่มเล็ก
|
ภาระงาน
-พูดคุยแสดงความคิดเห็นเกี่ยวกับกิจกรรมที่ได้ทำ
- จัดเตรียมวัตถุดิบและอุปกรณ์ในการทำกิจกรรม
- พูดคุยแสดงความคิดเห็นเกี่ยวกับกิจกรรม PBL
คู่ขนาน
- พูดคุยแสดงความคิดเห็นร่วมกันเกี่ยวกับกิจกรรมที่ได้ทำตลอดทั้งสัปดาห์
ชิ้นงาน
-ปั้นอาหาร
- สรุปการเรียนรู้รายสัปดาห์
|
ความรู้ :
เข้าใจและสามารถอธิบายเกี่ยวกับการปั้นจากสิ่งที่กินได้และมีประโยชน์ต่อร่างกาย
และนำไปปรับใช้ในชีวิตประจำวัน
ทักษะ: ทักษะชีวิต ทักษะการสื่อสาร ทักษะการจัดการข้อมูล ทักษะการอยู่ร่วมกันกับผู้อื่น
ทักษะการเรียนรู้อย่างต่อเนื่อง
คุณลักษณะ :
- เคารพ สิทธิ หน้าที่ เห็นคุณค่าและเชื่อมโยงความคิดเห็นของตนเองและผู้อื่น
-
- ยอมรับฟังความคิดเห็นของผู้อื่น
- มีความรับผิดชอบและมุ่งมั่นในการทำงาน
- กระตือรือร้นในการเรียนรู้
- มีจิตอาสาในการทำกิจกรรมต่างๆ มีน้ำใจช่วยเหลือ แบ่งปัน
- ยินดีและพอใจในสิ่งที่ตนเองมี เคารพสิทธิซึ่งกัน
|
9
19-23 ธ.ค.59
|
โจทย์
ความสัมพันธ์
- วิถีชีวิต
- ทัศนศึกษา
คำถาม
นักเรียนคิดงานปั้นเกี่ยวข้องสัมพันธ์กับวิถีชีวิตและสิ่งอื่นอย่างไร ?
เครื่องมือคิด
- Brainstorms
- Round Robin
- Blackboard Share
- Key Question
- Show and Share
- Wall Thinking
ผู้ร่วมสร้างการเรียนรู้
- ครู
- นักเรียน
- ผู้ปกครอง
สื่อ/แหล่งเรียนรู้ - บรรยากาศภายในชั้นเรียน
- ด่านเกวียน
|
-
ครูและนักเรียนร่วมกันทบทวนสิ่งที่ได้เรียนรู้ในสัปดาห์ที่ผ่านมา
- นักเรียนดูคลิปวีดีโอ “คนด่านเกวียน”
-ครู นักเรียนพูดคุยวางแผนการไปเรียนรู้นอกห้องเรียน
- ครู นักเรียน
และผู้ปกครองร่วมกันเรียนรู้นอกห้องเรียนที่ ด่านเกวียน
- สรุปความเข้าใจรายสัปดาห์
กิจกรรม PBL คู่ขนาน
- นักเรียนร่วมกันเก็บต้นอ่อนที่เพาะในสัปดาห์ที่ผ่านมา
- นักเรียนเตรียมเพาะต้อนอ่อนทานตะวัน
- นักเรียนบันทึกสมุดเล่มเล็ก
|
ภาระงาน
- พูดคุยแสดงความคิดเห็นเกี่ยวกับสิ่งที่ได้ฟังและสิ่งที่ได้ทำ
- พูดคุยแสดงความคิดเห็นการไปทัศนศึกษา
-
พูดคุยแสดงความคิดเห็นสิ่งที่ได้เรียนรู้ตลอดทั้งสัปดาห์
ชิ้นงาน - นิทานชุมชนอมยิ้ม
- สรุปการเรียนรู้รายสัปดาห์
|
ความรู้
เข้าใจและอธิบายเกี่ยวกับความสัมพันธ์ของงานปั้นกับวิถีชีวิต
และนำมาปรับใช้กับชีวิตประจำวัน
ทักษะ
ทักษะชีวิต ทักษะการสื่อสาร ทักษะการจัดการข้อมูล ทักษะการอยู่ร่วมกันกับผู้อื่น ทักษะการเรียนรู้อย่างต่อเนื่อง คุณลักษณะ :
- เคารพ สิทธิ หน้าที่ เห็นคุณค่าและเชื่อมโยงความคิดเห็นของตนเองและผู้อื่น
-
- ยอมรับฟังความคิดเห็นของผู้อื่น
- มีความรับผิดชอบและมุ่งมั่นในการทำงาน
- กระตือรือร้นในการเรียนรู้
- มีจิตอาสาในการทำกิจกรรมต่างๆ มีน้ำใจช่วยเหลือ แบ่งปัน
- ยินดีและพอใจในสิ่งที่ตนเองมี เคารพสิทธิซึ่งกัน
|
10
26-29 ธ.ค.59
|
โจทย์ :
สรุปองค์ความรู้
- นิทรรศการ
- ละคร
คำถาม
- นักเรียนได้เรียนรู้อะไรบ้างใน Quarter นี้? - นักเรียนจะเผยแพร่องค์ความรู้ หน่วยการเรียนรู้Quarter นี้ ให้ผู้อื่นเข้าใจได้อย่างไร? - นักเรียนทำ สิ่งใดได้ดี และสิ่งที่อยากพัฒนาต่อ เพราะเหตุใด? เครื่องมือคิด - Brainstorms - Round Robin - Show and Share - Mind Mapping - Wall Thinking
ผู้ร่วมสร้างการเรียนรู้
- ครู
- นักเรียน
- ผู้ปกครอง
สื่อ / แหล่งเรียนรู้ บรรยากาศภายในชั้นเรียน |
- ทบทวนสิ่งที่ได้เรียนรู้ ตลอด Quarter
- สนทนาแลกเปลี่ยนเกี่ยวกับรูปแบบการจัดนิทรรศการเผยแพร่และสรุปองค์ความรู้ - แบ่งกลุ่ม เตรียมความพร้อม ในการสรุปนำเสนอเผยแพร่องค์ความรู้ในรูปแบบของกลุ่มตนเอง - จัดบรรยากาศห้องเรียน เพื่อเตรียมเปิดห้องแลกเปลี่ยนเรียนรู้
- แบ่งปันดินปั้น
ผลิตภัณฑ์งานปั้นต่างๆ
- ร่วมกันถาม
ตอบเกี่ยวกับสิ่งที่อยากเรียนรู้ในหน่วยร่วมกัน
- สรุปสิ่งที่ดีแล้ว สิ่งที่ต้องพัฒนา - สรุปองค์ความรู้หลังเรียน - สรุปการเรียนรู้รายสัปดาห์ |
ภาระงาน :
- นำเสนอความเข้าใจหลังเรียน - จัดนิทรรศการสรุปและเผยแพร่องค์ความรู้
-พูดคุยแสดงความคิดเห็นเกี่ยวกับสิ่งที่ได้เรียนรู้ตลอดทั้ง
Quarter
ชิ้นงาน :
- Mind Mapping การ์ตูนช่องหรือบรรยาย สรุปองค์ความรู้หลังเรียน - สรุปสิ่งที่ทำดีแล้ว และสิ่งที่ควรพัฒนาเพิ่มเติม - สรุปการเรียนรู้รายสัปดาห์ |
ความรู้ :
นักเรียนเข้าใจและสามารถสรุปองค์ความรู้เกี่ยวกับเรื่องที่เรียนรู้ให้ผู้อื่นเข้าใจ สะท้อนแง่มุมที่หลากหลาย และนำสิ่งที่เรียนรู้ไปปรับใช้จริงในชีวิตประจำวันได้อย่างเหมาะสม
ทักษะ :
ทักษะชีวิต ทักษะการคิดสร้างสรรค์ ทักษะการอยู่ร่วมกันกับอื่น ทักษะการจัดการข้อมูล ทักษะการสื่อสาร
ทักษะการเรียนรู้อย่างต่อเนื่อง
คุณลักษณะ :
- เคารพ สิทธิ หน้าที่ เห็นคุณค่าและเชื่อมโยงความคิดเห็นของตนเองและผู้อื่น
-
- ยอมรับฟังความคิดเห็นของผู้อื่น
- มีความรับผิดชอบและมุ่งมั่นในการทำงาน
- กระตือรือร้นในการเรียนรู้
- มีจิตอาสาในการทำกิจกรรมต่างๆ มีน้ำใจช่วยเหลือ แบ่งปัน
-
ยินดีและพอใจในสิ่งที่
|
ตารางวิเคราะห์มาตรฐานการเรียนรู้และตัวชี้วัดแต่ละกลุ่มสาระ
หน่วย : เด็กช่างปั้น ระดับชั้นประถมศึกษาปีที่ 1
ภาคเรียนที่ 2 (Quarter 3) ปีการศึกษา 2559
สาระการเรียนรู้
|
มาตรฐานการเรียนรู้รายวิชาและตัวชี้วัด
|
||||||
วิทยาศาสตร์
|
สังคมศึกษา
ศาสนา
และวัฒนธรรม
|
สุขศึกษาและพลานามัย
|
ศิลปศึกษา
|
การงานอาชีพและเทคโนโลยี
|
ประวัติศาสตร์
|
หน้าที่พลเมือง
|
|
1.สร้างฉันทะ /สร้างแรงบันดาลใจ
- สิ่งที่อยากเรียนรู้
- ชื่อหน่วย
- สิ่งที่รู้แล้วและสิ่งที่อยากเรียนรู้
- ออกแบบและวางแผนปฏิทินการเรียนรู้
|
มาตรฐาน
ว 8.1
-ใช้กระบวนการทางวิทยาศาสตร์
ตั้งคำถามเกี่ยวกับเรื่องที่ศึกษาตามความสนใจ (ว 8.1 ป./1)
- วางแผนการ ศึกษาค้นคว้า
สำรวจ ตรวจสอบ โดยใช้ความคิดของตนเอง ของกลุ่ม และผู้รู้
(ว 8.1ป.1/2)
- ใช้เครื่องมือ สื่อ วัสดุอุปกรณ์ในการศึกษาค้นคว้า ตรวจสอบ
รวบรวมข้อมูล บันทึก หรือสรุปผลการเรียนรู้
|
มาตรฐาน
ส 2.1
- เคารพ ให้เกียรติ เห็นคุณค่าของตนเอง ผู้อื่น
ปฏิบัติตนตามข้อตกลงในห้องเรียนและเป็นสมาชิกที่ดีของห้อง เรียน
(ส 2.1
ป. 1/1)
- อธิบายและปฏิบัติตนได้อย่างเหมาะ สมในการดำรงชีวิตในสังคมที่หลาก
หลายและแตกต่าง และสามารถอธิบายผลที่จะเกิดขึ้นจากการกระทำใดๆของตน
|
มาตรฐาน
พ 2.1
-
รู้หน้าที่ของตนเองต่อสมาชิกในกลุ่มและเพื่อนร่วมชั้นในการเลือกสิ่งที่อยากเรียนรู้ได้
(พ 2.1
ป. 1/1)
-
ให้เกียรติและบอกความสำคัญของเพื่อนต่อการเลือกสิ่งที่อยากเรียนรู้หรือการทำกิจกรรมต่างๆร่วมกันได้
(พ 2.1 ป. 1/2)
|
มาตรฐาน
ศ 1.1
- วาดภาพเพื่อถ่าย
ทอดความรู้สึกเกี่ยว กับสิ่งที่อยากเรียนรู้
(ศ 1.1 ป. 1/1)
- อธิบายเกี่ยวกับความรู้สึกของตนเองต่อสิ่งที่อยากเรียนรู้ให้ผู้อื่นเข้าใจได้
(ศ 1.1 ป. 1/2)
- มีทักษะพื้นฐานในการใช้วัสดุ
อุปกรณ์สร้างงานศิลปะโดยการใช้สีด้วยเทคนิคต่างๆ
(ศ 1.1 ป.1/3 - 4)
- จินตนาการสร้าง สรรค์ และออก แบบ
|
มาตรฐาน
ง 1.1
-
เลือกใช้วัสดุอุปกรณ์และเครื่องมือในการทำ
งานได้อย่างเหมาะ สมและปลอดภัย
(ง 1.1 ป. 1/2)
-
สามารถทำงานได้ด้วยตนเอง แก้ไขปัญหาที่เกิดขึ้น มีความละเอียดรอบ คอบกระตือรือร้น รับผิด ชอบและตรงต่อเวลา
(ง 1.1 ป. 1/2-
3)
มาตรฐาน
ง 2.1
- มีความคิดสร้าง สรรค์สามารถนำสิ่ง
|
มาตรฐาน
ส 4.1
- อธิบายความหมายและความสำคัญสิ่งที่อยากเรียนรู้ได้ (ส 4.1 ป.4/1)
- สามารถศึกษาค้นคว้าสืบค้นความ
สำคัญของสิ่งที่อยากเรียนรู้โดยใช้หลัก ฐานที่หลากหลาย (ส
4.1 ป.5/1)
- สามารถรวบรวมข้อมูลจากแหล่งต่างๆเพื่อตอบคำ
ถามเรื่องที่สนใจอยากเรียนรู้อย่างมีเหตุผล
(ส 4.1 ป.5/2)
|
จุดเน้นที่
1
- ปฏิบัติตนเป็นผู้มีมารยาทไทย
- แสดงออกถึงความกตัญญูกตเวทีต่อบุคคลในครอบครัว
- เห็นความสำคัญของภาษาไทย
จุดเน้นที่
2
- เข้าร่วมกิจกรรมเกี่ยวกับชาติ ศาสนา และสถาบันพระมหากษัตริย์
- ปฏิบัติตนตามหลักการทรงงาน
และหลักปรัชญาของเศรษฐกิจ พอเพียง
จุดเน้นที่
3
|
สาระการเรียนรู้
|
มาตรฐานการเรียนรู้รายวิชาและตัวชี้วัด
|
||||||
วิทยาศาสตร์
|
สังคมศึกษา
ศาสนา
และวัฒนธรรม
|
สุขศึกษาและพลานามัย
|
ศิลปศึกษา
|
การงานอาชีพและเทคโนโลยี
|
ประวัติศาสตร์
|
หน้าที่พลเมือง
|
|
|
อย่างเหมาะสม
(ว 8.1 ป.1/3)
- จัดกลุ่มข้อมูลเปรียบเทียบและนำเสนอผลการตรวจสอบ แสดงความคิดเห็นเป็นกลุ่มรวบรวม
และสรุปความรู้ได้
(ว 8.1 ป.1/4-6)
-
นำเสนอสิ่งที่ตนสนใจอยากเรียนรู้ให้ผู้อื่นเข้าใจผ่านการเล่าหรือการทำชิ้นงาน
(ว 8.1 ป.1/7)
|
(ส 2.1 ป. 1/2)
- ยอมรับในความ คิด
และความเชื่อของของผู้อื่นที่มีความแตกต่างจากตนเองในการเลือกและกำหนดสิ่งที่อยากเรียนรู้
(ส 2.1
ป. 2/3)
-
เคารพและให้เกียรติในสิทธิและเสรีภาพของตนเองและผู้อื่นในการเลือกและตัดสินใจ
(ส 2.1 ป. 2/4)
มาตรฐาน ส 2.2
อธิบายความ
สัมพันธ์ของตนเองและสมาชิกในกลุ่มในฐานะที่เป็นส่วนหนึ่งของสังคม
(ส 2.2 ป. 1/1)
|
|
ภาพประกอบกิจกรรมการเรียนรู้และวาดภาพ ประกอบผลงาน (ศ 1.1 ป.2/3)
-
สร้างสรรค์ผล
งานวาดภาพสิ่งที่อยากเรียนรู้และนำ เสนอให้ผู้อื่นเข้าใจได้
(ส 1.1 ป.3/6)
|
ที่ได้ดูได้ฟัง และได้เห็นไปถ่ายทอดเป็นชิ้นงานภาพวาด
รวมทั้งวางแผนล่วง หน้าในการเรียนได้
(ง 2.1 ป.2/4)
|
|
- ปฏิบัติตนตามข้อตกลง
กติกา และหน้าที่ที่ต้องปฏิบัติ ในห้องเรียน
- การปฏิบัติตนตามบทบาทหน้าที่ในฐานะสมาชิกที่ดีของครอบครัวและห้องเรียน
จุดเน้นที่
4
- ยอมรับความเหมือนและความแตกต่างของตนเองและผู้อื่น
- ยกตัวอย่างความขัดแย้งในห้องเรียนและเสนอวิธีการแก้ปัญหาโดยสันติวิธี
จุดเน้นที่
5
ปฏิบัติตนเป็นผู้มีวินัยในตนเอง
|
สาระการเรียนรู้
|
มาตรฐานการเรียนรู้รายวิชาและตัวชี้วัด
|
||||||
วิทยาศาสตร์
|
สังคมศึกษา
ศาสนา
และวัฒนธรรม
|
สุขศึกษาและพลานามัย
|
ศิลปศึกษา
|
การงานอาชีพและเทคโนโลยี
|
ประวัติศาสตร์
|
หน้าที่พลเมือง
|
|
|
|
-
-
รู้จักและปฏิบัติตามบทบาท สิทธิ หน้าที่ของตนและเคารพสิทธิของผู้อื่น
-
(ส 2.2
ป. 1/2)
-
-
มีส่วนร่วมในการตัดสินใจและแสดงความคิดเห็นต่อการเลือกสิ่งที่อยากเรียนรู้หรือวางแผนการเรียนรู้
(ส 2.2 ป. 1/3)
|
|
|
|
|
|
2.ปั้นจากวัสดุธรรมชาติ
-
ดินเหนียว
- ทราย
|
มาตรฐาน
ว 1.1
เปรียบเทียบและอธิบายความเหมือนหรือความแตกต่างของดินชนิดต่างๆ
(ว 1.1
ป.1/1)
มาตรฐาน
ว 1.2
|
มาตรฐาน
ส 2.1
ปฏิบัติตนเป็นสมาชิกที่ดีชุมชนที่ตนอยู่อาศัยโดยการเคารพและให้เกียรติผู้อื่น
(ส 2.1 ป. 1/1)
มาตรฐาน
ส 2.2
-
อธิบายเกี่ยวกับโครงสร้างหน้าที่ของ
|
มาตรฐาน
พ 2.1
- รู้จัก เข้าใจ เห็นคุณค่าของครอบ ครัวตนเองและปฏิบัติตนต่อครอบ
ครัวด้วยความรัก ความผูกพัน
(พ 2.1
ป. 1/1)
-
รู้จักและเข้าใจ
|
มาตรฐาน
ศ 1.1
- บรรยายเกี่ยวกับ รูปร่าง
รูปทรง ลักษณะ ขนาดของสิ่งที่ปั้น (ศ 1.1 ป. 1/1)
- อธิบายเกี่ยวกับ
ความรู้สึกของตนเองที่มีต่อสิ่งต่างๆใน
|
มาตรฐาน
ง 2.1
- สามารถวางแผนและลงมือทำงานอย่างเป็นลำดับขั้น
ตอนเพื่อให้งานบรรลุตามเป้า หมาย
(ง 1.1
ป. 1/1)
- เลือกใช้วัสดุอุปกรณ์และ
|
มาตรฐาน
ส 4.1
- อธิบายเกี่ยวกับวัน เดือน ปีและช่วงเวลาต่างๆตามปฏิทินในการศึกษาหาข้อมูลเกี่ยวกับเครื่องปั้นดินเผาสมัยก่อนและสมัยปัจจุบัน
|
จุดเน้นที่
1
- ปฏิบัติตนเป็นผู้มีมารยาทไทย
- แสดงออกถึงความกตัญญูกตเวทีต่อบุคคลในครอบครัว
- เห็นความสำคัญของภาษาไทย
จุดเน้นที่
2
|
สาระการเรียนรู้
|
มาตรฐานการเรียนรู้รายวิชาและตัวชี้วัด
|
||||||
วิทยาศาสตร์
|
สังคมศึกษา
ศาสนา
และวัฒนธรรม
|
สุขศึกษาและพลานามัย
|
ศิลปศึกษา
|
การงานอาชีพและเทคโนโลยี
|
ประวัติศาสตร์
|
หน้าที่พลเมือง
|
|
|
อธิบายเกี่ยวกับลักษณะของสิ่งต่างๆทั้งที่มีชีวิตและไม่มีชีวิตที่แล้วนำมาจัดหมวดหมู่ตามความเข้าใจ
(ว 1.2
ป.1/1)
มาตรฐาน
ว 6.1
สำรวจ ศึกษา
สอบถามข้อมูลเกี่ยวกับลักษณะทางภูมิศาสตร์ของดินชนิดต่างๆ
(ว 6.1 ป.1/1)
มาตรฐาน
ว 8.1
-ตั้งคำถามเกี่ยวกับดินชนิดต่างๆ
กำหนด ให้หรือตามความสนใจ
(ว 8.1
ป.1/1)
|
ครอบครัว
หมู่บ้านและชุมชนที่ตนอยู่อาศัย
(ส 2.2
ป. 1/1)
-รู้บทบาทหน้าที่ของตนเองต่อผู้อื่น สังคม
รวมถึงเคารพสิทธิและหน้าที่ของผู้อื่นในการอยู่ร่วมกันในสังคม(ส 2.2 ป. 1/2)
-
- มีส่วนร่วมในการตัดสินใจและทำกิจกรรมต่างๆในห้องเรียนตามความสนใจและกระ
บวนการประชาธิปไตย
(ส 2.2 ป. 1/3)
มาตรฐาน
ส 5.1
- สามารถแยกแยะ จำแนกและจัดหมวดหมู่ของสิ่ง
|
-
ตนเองสามารถ
อธิบายเกี่ยวกับสิ่งที่ตนชื่นชอบและภาคภูมิใจ
(พ 2.1
ป. 1/2)
-
อธิบายลักษณะของผู้คนในหมู่บ้านเกี่ยวกับ
เพศ อายุ
(พ 2.1
ป. 1/3)
มาตรฐาน พ.4.1
- บอกลักษณะการมีสุขภาพดีจากการทำงานบ้าน
(พ 4.1 ป2/1)
- อธิบายอาการและวิธีการป้องกันการเจ็บป่วย
การบาดเจ็บที่อาจเกิดขึ้นจากการทำงานบ้าน (พ 4.1 ป2/4)
|
หมู่บ้าน
(ศ 1.1
ป. 1/2)
- มีทักษะในการใช้
วัสดุอุปกรณ์
การทำงานเพื่อสร้าง สรรค์ชิ้นงานเกี่ยวกับหมู่บ้านของตน
(ศ 1.1 ป. 1/3)
- สรรค์สร้างงานศิลปะโดยการวาดภาพ
ระบายสีเพื่อถ่ายทอดความรู้สึกเกี่ยวกับหมู่บ้านของตนเอง
(ศ 1.1
ป. 1/4-5)
|
- เครื่องมือในการทำงานได้อย่างเหมาะสมและปลอดภัย
(ง 1.1
ป. 1/2)
- รู้วิธีการทำงานให้
สำเร็จอย่างมีคุณภาพด้วยความกระตือรือร้น
เอาใจใส่เพื่อให้ทันเวลาที่กำหนด
(ง 1.1
ป. 1/3)
มาตรฐาน
ง 3.1
- อธิบายสิ่งที่พบในหมู่บ้าน ประวัติความเป็นมา ลักษณะของหมู่บ้านสมัยก่อนและสมัยปัจจุบัน
แผนที่จากบ้านมาโรงเรียน แผนผังและ
|
(ส
4.1 ป.1/1)
- สามารถเรียงลำดับเหตุการณ์ต่างๆที่เกิดขึ้นในหมู่บ้านได้
(ส
4.1 ป.1/2)
-สามารถสืบค้นประวัติความเป็นมาของตนเองและครอบครัวและชุมชนที่ตนอาศัยอยู่โดยการสอบถามผู้เกี่ยวข้อง
(ส
4.1 ป.1/3)
มาตรฐาน ส 4.2
- อธิบายเกี่ยวกับความเปลี่ยนแปลงของสภาพแวดล้อมของหมู่บ้านหรือการดำเนินชีวิตของตนเองกับสมัยของพ่อแม่
ปู่ย่า ตายาย
|
- เข้าร่วมกิจกรรมเกี่ยวกับชาติ ศาสนา และสถาบันพระมหากษัตริย์
- ปฏิบัติตนตามหลักการทรงงาน
และหลักปรัชญาของเศรษฐกิจ พอเพียง
จุดเน้นที่
3
- ปฏิบัติตนตามข้อตกลง
กติกา และหน้าที่ที่ต้องปฏิบัติ ในห้องเรียน
- การปฏิบัติตนตามบทบาทหน้าที่ในฐานะสมาชิกที่ดีของครอบครัวและห้องเรียน
จุดเน้นที่
4
- ยอมรับความเหมือนและความ
|
สาระการเรียนรู้
|
มาตรฐานการเรียนรู้รายวิชาและตัวชี้วัด
|
||||||
วิทยาศาสตร์
|
สังคมศึกษา
ศาสนา
และวัฒนธรรม
|
สุขศึกษาและพลานามัย
|
ศิลปศึกษา
|
การงานอาชีพและเทคโนโลยี
|
ประวัติศาสตร์
|
หน้าที่พลเมือง
|
|
|
-
วางแผน สังเกต
สำรวจ ศึกษาค้นคว้าข้อมูลทั่วไปเกี่ยวกับงานปั้นต่างๆ
(ว 8.1
ป.1/2)
- ใช้วัสดุอุปกรณ์ในการบันทึกข้อมูลเกี่ยวกับการทดลอง
(ว 8.1
ป.1/3)
-
จัดกลุ่มข้อมูลที่ได้จากการศึกษาค้น คว้า สอบถาม
สำรวจแล้วนำเสนอความเข้าใจให้ผู้อื่นทราบผ่านการเล่า
|
- ต่างๆรอบตัวทั้งที่เกิดขึ้นเองตามธรรมชาติและสิ่งที่มนุษย์สร้างขึ้น
(ส 5.1 ป. 1/1)
-
สามารถระบุตำแหน่งระยะ
ทางทิศและที่ ตั้งของสถานที่ต่างๆในหมู่บ้านให้ผู้อื่นเข้าใจ
(ส 5.1 ป. 1/2-3)
-สร้างแผนผังแบบ จำลองหมู่บ้านจากดินเพื่อถ่ายทอดตำแหน่งของสถานที่ต่างๆในหมู่บ้านของตน
(ส 5.1 ป. 1/4)
มาตรฐาน ส 5.2
อธิบายเกี่ยวกับสิ่งๆ
|
- ปฏิบัติตามคำแนะนำเมื่อมีอาการเจ็บป่วยและบาดเจ็บ
(พ 4.1 ป2/5)
มาตรฐาน
พ.5.1
- ปฏิบัติตนในการป้องกันอุบัติเหตุที่อาจเกิดขึ้นจากการทำงานบ้าน
(พ 5.1 ป2/1)
|
|
แบบจำลองหมู่บ้านให้ผู้อื่นเข้าใจผ่านการเล่า
บรรยาย หรือถ่ายทอดลงชิ้นงาน
(ง 3.1
ป. 1/1)
-เข้าใจและสามารถรวบรวมข้อมูลจากแหล่งข้อมูลต่างๆที่น่าเชื่อถือ
รวมทั้งรู้จักการสืบค้นจากแหล่ง ข้อมูลที่หลากหลาย
(ง 3.1 ป.2/1)
-สามารถค้นหาข้อมูลอย่างมีขั้นตอนและนำเสนอข้อมูลในลักษณะต่างๆได้ (ง 3.1 ป.3/1)
|
ได้ (ส 4.2 ป 1/1)
- อธิบายผลกระทบของการเปลี่ยน แปลงของสภาพ
แวดล้อมที่มีผลต่อการดำเนินชีวิต
(ส4.2
ป 1/2)
มาตรฐาน
ส 4.3
- อธิบายความ
หมายของสิ่งต่างๆผ่านงานปั้น
(ส
4.3 ป 1/1)
-อธิบายเกี่ยวกับ
ตำแหน่งของสถานที่ที่สำคัญของแหล่งกำเนิดดินได้ (ส
4.3 ป 1/2)
-ระบุเกี่ยวกับสิ่งทีภาคภูมิในในหมู่บ้านของตนเอง
|
แตกต่างของตนเองและผู้อื่น
- ยกตัวอย่างความขัดแย้งในห้องเรียนและเสนอวิธีการแก้ปัญหาโดยสันติวิธี
จุดเน้นที่
5
ปฏิบัติตนเป็นผู้วินัยในตนเอง
|
สาระการเรียนรู้
|
มาตรฐานการเรียนรู้รายวิชาและตัวชี้วัด
|
||||||
วิทยาศาสตร์
|
สังคมศึกษา
ศาสนา
และวัฒนธรรม
|
สุขศึกษาและพลานามัย
|
ศิลปศึกษา
|
การงานอาชีพและเทคโนโลยี
|
ประวัติศาสตร์
|
หน้าที่พลเมือง
|
|
|
บรรยาย
อธิบายหรือการทำชิ้นงานเกี่ยวกับแนวคิดของงานหรือข้อมูลและแสดงความคิดเห็นอย่างสร้างสรรค์
(ว
8.1 ป.1/4 - 7)
|
ต่างในหมู่บ้านที่มีผลต่อความเป็นอยู่หรือวิถีชีวิตของคนในชุมชนและมีส่วนร่วมในการจัดระเบียบสิ่งแวดล้อม
(ส 5.2
ป. 1/1-3)
|
|
|
|
ได้ (ส 4.3 ป 1/2)
|
|
3.ปั้นจากวัสดุธรรมชาติ
-
ขี้เลื่อย
-
ขี้วัว
- แกลบ
- รำ
|
มาตรฐาน ว 1.1
อธิบายได้ว่า ปัจจัยที่เกี่ยวกับดินปั้น และ เรียนรู้ที่จะนำไปประ ยุกต์ใช้กับตนเองได้
(ว 1.1 ป.2/1-2)
มาตรฐาน ว 8.1
-
ตั้งคำถามเกี่ยวกับดินชนิดต่างๆ
-ทดสอบสิ่งที่อยู่ในดินแบบง่ายๆ
ได้
(ว 8.1 ป.1/1)
|
มาตรฐาน
ส 2.1
- ปฏิบัติตนเป็นสมาชิกที่
ดีของครอบครัว
โรงเรียน และชุมชนที่ตนอยู่อาศัยโดยการเคารพและให้เกียรติผู้อื่น (ส 2.1 ป. 1/1)
-
ยอมรับฟังความคิดเห็น
ความเชื่อของผู้อื่นที่แตกต่างจากตนโดย
|
มาตรฐาน พ.2.1
- เข้าใจ เห็นคุณค่า
และปฏิบัติตนเป็นสมาชิกที่ดีของครอบครัว โรงเรียนและชุมชน
(พ 2.1 ป.1/1)
-อธิบายเกี่ยวกับสิ่งที่ตนชื่นชอบและภาคภูมิใจ
(พ 2.1 ป.1/2)
-
อธิบายเกี่ยวกับลักษณะ
ความแตกต่างและความ
|
มาตรฐาน ศ 1.1
-
อธิบายและ
ถ่ายทอดความรู้สึกเกี่ยวกับลักษณะของการดำรงชีวิตของคนในท้องถิ่นผ่านภาพวาด
(ศ 1.1 ป.1/1-2)
-
มีทักษะในการใช้
วัสดุ
อุปกรณ์และเครื่องมือเพื่อสร้างสรรค์ชิ้นงานถ่ายทอดเรื่องราวเกี่ยวกับวิถีชีวิตและ
|
มาตรฐาน ง 1.1
- อธิบายขั้นตอนการ
ทำงานให้สำเร็จ ประณีตสวยงามและทันตามเวลาที่กำหนด
(ง 1.1 ป.1/1)
-เลือกใช้วัสดุ
อุปกรณ์ในการทำ งานได้อย่างถูกต้อง เหมาะสมและปลอดภัย
(ง 1.1 ป.1/2)
- ทำงานด้วยตนเอง
|
มาตรฐาน ส 4.1
-
อธิบายวัน
เดือน ปีตามปฏิทินเพื่อบอกช่วงเวลาของประเพณีต่างๆ
(ส
4.1 ป 1/1)
-
เรียงลำดับช่วงเวลาของประเพณีต่างๆในหมู่บ้าน
(ส 4.1 ป 1/2)
- บอกประวัติความ
เป็นมาและความ สำคัญของประเพณี
|
จุดเน้นที่
1
- ปฏิบัติตนเป็นผู้มีมารยาทไทย
- แสดงออกถึงความกตัญญูกตเวทีต่อบุคคลในครอบครัว
- เห็นความสำคัญของภาษาไทย
จุดเน้นที่
2
- เข้าร่วมกิจกรรมเกี่ยวกับชาติ ศาสนา และสถาบันพระมหากษัตริย์
- ปฏิบัติตนตาม
|
สาระการเรียนรู้
|
มาตรฐานการเรียนรู้รายวิชาและตัวชี้วัด
|
||||||
วิทยาศาสตร์
|
สังคมศึกษา
ศาสนา
และวัฒนธรรม
|
สุขศึกษาและพลานามัย
|
ศิลปศึกษา
|
การงานอาชีพและเทคโนโลยี
|
ประวัติศาสตร์
|
หน้าที่พลเมือง
|
|
|
-
วางแผน สังเกต
สำรวจ ศึกษาค้นคว้า สอบถามเกี่ยวกับการดำรง ชีวิตและประเพณีและศิลปะพื้นบ้านของคนในชุมชนที่เกี่ยวข้องกับงานปั้น
(ว 8.1 ป.1/1)
-
จัดกลุ่มข้อมูลที่ได้จากการศึกษาค้นคว้า
สังเกต สำรวจแล้วนำเสนอผ่านภาพวาด ข้อ ความ บอกเล่า
หรือแสดงความคิดเห็นให้ผู้อื่นเข้าใจ
|
-
ปราศจากอคติ
(ส
2.1
ป. 1/2)
มาตรฐาน
ส 2.2
-
บอกโครงสร้าง
บทบาทและหน้าที่ของตนเองในฐานะที่เป็นส่วนหนึ่งของสังคม
(ส
2.2
ป. 1/1)
-
เข้าใจและปฏิบัติตามบทบาทหน้าที่ของตนในครอบครัว
โรงเรียนหรือชุมชนที่ตนอาศัยอยู่
(ส
2.2
ป. 1/2)
-มีส่วนร่วมในการ
ตัดสินใจในการทำกิจกรรมหรือร่วมงานประเพณีต่างๆในชุมชน
|
-
เหมือนของเพศและวัยของคนในหมู่บ้าน
(พ 2.1 ป.1/3)
มาตรฐาน
พ.4.1
- บอกลักษณะการมีสุขภาพดีจากการร่วม งานประเพณีบุญต่างๆ
(พ 4.1 ป.2/1)
- อธิบายอาการและวิธีการป้องกันการเจ็บป่วย การบาด เจ็บที่อาจเกิดขึ้นจากการทำงาน
(พ 4.1 ป.2/4)
- ปฏิบัติตามคำแนะนำเมื่อมีอาการเจ็บป่วยและบาดเจ็บ
(พ 4.1 ป.1/3)
มาตรฐาน พ.5.1
|
ประเพณีต่างๆในท้องถิ่นที่ตอนอยู่อาศัย
(ศ 1.1 ป.1/3)
- วาดภาพระบายสีเพื่อถ่ายทอดความ รู้สึกเกี่ยวกับบทกลอนงานประเพณี
(ศ 1.1 ป.1/5)
|
หรือร่วมกับผู้อื่นด้วยความกระตือรือร้น เอาใจใส่ อดทน
รับผิดชอบเพื่อให้งานสำเร็จทันตามเวลาที่กำหนด
(ง 1.1 ป.1/2)
|
ต่างๆโดยการสอบ ถามผู้รู้
(ส 4.1 ป 1/3)
มาตรฐาน
ง 3.1
-อธิบายข้อมูลเกี่ยวกับความหมายและความสำคัญของประเพณีและศิลปะพื้นบ้านของคนอีสาน
(ง 3.1 ป.1/1)
มาตรฐาน
ส 4.2
- อธิบายลักษณะของการดำเนินชีวิตหรือประเพณีต่างๆในสมัยตนเองและสมัยพ่อแม่
ปู่ย่า ตายาย
(ส 4.1 ป 1/1)
- อธิบายเกี่ยวกับ
เหตุการณ์ในอดีตที่มีผลต่อวิถีชีวิตหรือ
|
หลักการทรงงาน
และหลักปรัชญาของเศรษฐกิจ พอเพียง
จุดเน้นที่
3
- ปฏิบัติตนตามข้อตกลง
กติกา และหน้าที่ที่ต้องปฏิบัติ ในห้องเรียน
- การปฏิบัติตนตามบทบาทหน้าที่ในฐานะสมาชิกที่ดีของครอบครัวและห้องเรียน
จุดเน้นที่
4
- ยอมรับความเหมือนและความแตกต่างของตนเองและผู้อื่น
- ยกตัวอย่างความขัดแย้งในห้องเรียนและเสนอวิธีการแก้ปัญหาโดยสันติ
|
สาระการเรียนรู้
|
มาตรฐานการเรียนรู้รายวิชาและตัวชี้วัด
|
||||||
วิทยาศาสตร์
|
สังคมศึกษา
ศาสนา
และวัฒนธรรม
|
สุขศึกษาและพลานามัย
|
ศิลปศึกษา
|
การงานอาชีพและเทคโนโลยี
|
ประวัติศาสตร์
|
หน้าที่พลเมือง
|
|
|
(ว 8.1 ป.1/4-7)
|
(ส
2.2
ป. 1/3)
มาตรฐาน
ส 3.2
-เข้าใจและเห็นคุณค่าของการทำงานหรือการประกอบอาชีพคนในหมู่บ้านของตน(ส
3.2
ป. 1/3)
มาตรฐาน
ส 5.2
- อธิบายเกี่ยวกับสิ่งต่างๆที่มีผลต่อการดำเนินชีวิต
ความเป็นอยู่หรือประเพณีต่างๆของคนในหมู่บ้าน
(ส
5.2
ป. 1/1)
- สังเกต
อธิบายและเปรียบเทียบการเปลี่ยนแปลงของภาพแวดล้อมรอบตัวในหมู่บ้าน
|
- ปฏิบัติตนในการป้องกันอุบัติเหตุที่อาจเกิดขึ้นจากการทำงาน
(พ 5.1 ป.2/1)
|
|
|
ประเพณีต่างๆในชุมชน
(ส
4.2 ป 1/2)
มาตรฐาน ส 4.3
อธิบายความหมายและความสำคัญของประเพณีของคนในท้องถิ่นและสามารถปฏิบัติตนได้อย่างเหมาะสม
(ส 4.3 ป 1/1)
- สามารถอธิบายเกี่ยวกับสถานที่ที่สำคัญในหมู่บ้านเช่น บ้านวัดโรงเรียน
(ส
4.3 ป 1/1)
- มีความภาคภูมิใจ
ในท้องถิ่นที่ตนออยู่อาศัยและมีส่วนในการอนุรักษ์ศิลปะ วัฒนธรรม
(ส 4.3 ป 1/1)
|
วิธี
จุดเน้นที่
5
ปฏิบัติตนเป็นผู้มีวินัยในตนเอง
|
สาระการเรียนรู้
|
มาตรฐานการเรียนรู้รายวิชาและตัวชี้วัด
|
||||||
วิทยาศาสตร์
|
สังคมศึกษา
ศาสนา
และวัฒนธรรม
|
สุขศึกษาและพลานามัย
|
ศิลปศึกษา
|
การงานอาชีพและเทคโนโลยี
|
ประวัติศาสตร์
|
หน้าที่พลเมือง
|
|
|
|
- ที่ตนอยู่อาศัย
(ส
5.2
ป. 1/2)
- มีส่วนในร่วมในงานประเพณีต่างๆในหมู่บ้าน
(ส 5.2 ป. 1/3)
|
|
|
|
|
|
4.ปั้นจากวัสดุสังเคราะห์
-
ดินน้ำมัน
-
ดินญี่ปุ่น
-
ดินเกาหลี
-
ดินขนมปัง
|
มาตรฐาน
ว 1.2
สามารถอธิบายเกี่ยวกับการทำดินปั้นชนิดต่างๆ จากวัสดุสังเคราะห์
(ว 1.2
ป.1/1)
มาตรฐาน
ว 3.1
- สังเกต ระบุและอธิบายลักษณะของดินปั้นจากวัสดุสังเคราะห์
(ว 3.1 ป.1/1)
- จำแนกทรัพยากรหรือวัสดุที่นำมาใช้
|
มาตรฐาน
ส 2.1
- ปฏิบัติตนเป็นสมาชิกที่ดีของครอบครัว โรงเรียนและชุมชน
โดยรู้จักบทบาทหน้าที่ของตนและเคารพสิทธิของผู้อื่น
(ส 2.1
ป. 1/1)
- เข้าใจ เห็นค่าตนเองและสามารถอธิบายผลที่จะเกิดขึ้นจากการกระทำใดๆของตนเองและผู้อื่น
(ส 2.1
ป. 1/2)
|
มาตรฐาน
พ.2.1
- เข้าใจและเห็นคุณค่าของตนเอง และผู้อื่นที่อยู่ร่วมกันในสังคม
(พ 2.1
ป. 1/1)
มาตรฐาน
พ.2.1
-
ระบุสิ่งที่อาจทำให้เกิดอันตรายจากการทำงาน
(พ 2.1
ป. 1/1)
-อธิบายสาเหตุและการป้องกันอันตรายจากการทำงาน
(พ 2.1
ป. 1/2)
- สามารถพูดบอก
|
มาตรฐาน
ศ 1.1
-อธิบายความเข้าใจ
เกี่ยวกับวัสดุ
อุปกรณ์ในการทำผลิตภัณฑ์และการประดิษฐ์สิ่งของจากวัสดุในหมู่บ้านผ่านงานศิลปะ
(ศ 1.1
ป. 1/1)
-
มีทักษะในการใช้วัสดุอุปกรณ์สร้างงานเพื่อถ่ายทอดความเข้าใจเกี่ยวกับการทำน้ำการประดิษฐ์สิ่งของจาก
|
มาตรฐาน
ง 1.1
- ทำงานอย่างมีเป้าหมาย เป็นขั้นตอน
เพื่อให้สำเร็จลุล่วงทันตามเวลาที่กำหนด
(ง 1.1
ป.1/1)
-เลือกใช้วัสดุอุปกรณ์และเครื่อง
มือในการทำงานได้อย่างเหมาะสมและปลอดภัย
(ง 1.1
ป.1/2)
- ทำงานด้วยความกระตือรือร้น เอาใจใส่ อดทนเพื่อให้
|
มาตรฐาน
ส 4.1
- อธิบายเกี่ยวกับวัน
เดือน ปีตามปฏิทินในการคำนวณระยะเวลาการทำผลิตภัณฑ์ท้องถิ่นได้
(ส 4.1 ป 1/1)
- เรียงลำดับเหตุการณ์ในการผลิตภัณฑ์และการประดิษฐ์สิ่งของจากวัสดุในท้องถิ่น
(ส
4.1 ป 1/2)
มาตรฐาน ส 4.2
- อธิบายความเปลี่ยน แปลงของ
|
จุดเน้นที่
1
- ปฏิบัติตนเป็นผู้มีมารยาทไทย
- แสดงออกถึงความกตัญญูกตเวทีต่อบุคคลในครอบครัว
- เห็นความสำคัญของภาษาไทย
จุดเน้นที่
2
- เข้าร่วมกิจกรรมเกี่ยวกับชาติ ศาสนา และสถาบันพระมหากษัตริย์
- ปฏิบัติตนตามหลักการทรงงาน
และหลักปรัชญาของ
|
สาระการเรียนรู้
|
มาตรฐานการเรียนรู้รายวิชาและตัวชี้วัด
|
||||||
วิทยาศาสตร์
|
สังคมศึกษา
ศาสนา
และวัฒนธรรม
|
สุขศึกษาและพลานามัย
|
ศิลปศึกษา
|
การงานอาชีพและเทคโนโลยี
|
ประวัติศาสตร์
|
หน้าที่พลเมือง
|
|
|
- ในการปั้นเป็นสิ่งของเครื่องใช้ต่างๆ (ว 3.1
ป.1/2)
มาตรฐาน
ว 8.1
- ตั้งคำถามเกี่ยวกับทรัพยากรที่อยู่ในดิน (ว 8.1 ป.1/1)
-วางแผนอย่างเป็นขั้นตอนในการทำงานปั้นต่างๆ
(ว
8.1 ป.1/2)
- ใช้วัสดุอุปกรณ์ในการทำงานอย่างถูกต้องเหมาะสมและปลอดภัย
(ว 8.1 ป.1/3)
|
มาตรฐาน
ส 2.2
-รู้จักบทบาท สิทธิ
หน้าที่ของตนต่อสมาชิกในกลุ่มในฐานะที่เป็นสมาชิกส่วนหนึ่งของสังคม
(ส 2.1 ป. 1/1-2)
- มีส่วนร่วมในการ
ตัดสินใจในการเตรียมวัสดุ
อุปกรณ์และลงมือทำน้ำยาล้างจานจากมะกรูดและขี้เถ้า
(ส 2.1
ป. 1/3)
มาตรฐาน
ส 3.1
-
อธิบายการอนุรักษ์หรือใช้ทรัพยากรอย่างคุ้มค่าและนำไปใช้ในชีวิตจริง (ส 3.1
ป. 1/2)
- อธิบายเกี่ยวกับการ
ใช้ทรัพยากรใน
|
- หรือแสดงท่าทางขอความช่วยเหลือจากผู้อื่นหากเกิดอันตรายจากการทำงาน
(พ
2.1 ป. 1/3)
|
-
เมล็ดพันธุ์
(ศ 1.1
ป. 1/2)
-วาดภาพเพื่อถ่ายทอดเรื่องราวเกี่ยวกับการจัดสรรทรัพยากรในท้องถิ่น
(ศ
1.1 ป. 2/6)
|
- บรรลุเป้าหมาย
(ง 1.1
ป.1/3)
มาตรฐาน ง 3.1
อธิบายข้อมูลเกี่ยวกับการทำน้ำยาล้างจานและการประดิษฐ์สิ่งของจากวัสดุที่มีในท้องถิ่น
(ง 3.1
ป.1/1)
|
- สภาพ แวดล้อมที่มีผลต่อทรัพยากรในท้องถิ่น
(ส
4.2 ป 1/1)
-
อธิบายเหตุการณ์ที่เกิดขึ้นในอดีตที่มีผลกระทบต่อสภาพแวดล้อมและทรัพยากรในปัจจุบัน
(ส
4.2 ป 1/2)
มาตรฐาน
ส 4.3
- อธิบายความ หมายและความ สำคัญของทรัพยากรในท้องถิ่น
(ส
4.3 ป 1/2)
มีความภาคภูมิใจและเห็นคุณค่าของทรัพยากรในท้องถิ่นของตน
(ส
4.3 ป 1/2)
|
เศรษฐกิจ พอเพียง
จุดเน้นที่
3
- ปฏิบัติตนตามข้อตกลง
กติกา และหน้าที่ที่ต้องปฏิบัติ ในห้องเรียน
- การปฏิบัติตนตามบทบาทหน้าที่ในฐานะสมาชิกที่ดีของครอบครัวและห้องเรียน
จุดเน้นที่
4
- ยอมรับความเหมือนและความแตกต่างของตนเองและผู้อื่น
- ยกตัวอย่างความขัดแย้งในห้องเรียนและเสนอวิธีการแก้ปัญหาโดยสันติวิธี
จุดเน้นที่
5
|
สาระการเรียนรู้
|
มาตรฐานการเรียนรู้รายวิชาและตัวชี้วัด
|
||||||
วิทยาศาสตร์
|
สังคมศึกษา
ศาสนา
และวัฒนธรรม
|
สุขศึกษาและพลานามัย
|
ศิลปศึกษา
|
การงานอาชีพและเทคโนโลยี
|
ประวัติศาสตร์
|
หน้าที่พลเมือง
|
|
|
- จัดกลุ่มข้อมูลของวัสดุอุปกรณ์ ขั้นตอนในการทำอาหารจากเมล็ดพันธุ์เชื่อมกับอาหารหลัก
5 หมู่
(ว
8.1 ป.1/4)
- บันทึกสิ่งที่ตนได้เรียนรู้จากการทำทำอาหารแล้วนำเสนอข้อมูล
|
ท้องถิ่นอย่างคุ้มค่าและสร้างสรรค์
(ส 3.1 ป. 1/3)
มาตรฐาน
ส 5.1
แยกแยะทรัพยากรที่เกิดขึ้นเองตามธรรม
ชาติและมนุษย์สร้างขึ้น(ส 5.1 ป. 1/1)
มาตรฐาน
ส 5.2
- อธิบายเกี่ยวเมล็ดพันธุ์ที่มีในหมู่บ้านที่มีผลต่อความเป็นอยู่ของคนในชุมชน
(ส 5.2 ป. 1/1)
-สังเกตและเปรียบ เทียบการเปลี่ยน แปลงของทรัพยากรในหมู่บ้านของตนเองและผู้อื่น
(ส 5.2 ป. 1/2)
|
|
|
|
|
ปฏิบัติตนเป็นผู้มีวินัยในตนเอง
|
สาระการเรียนรู้
|
มาตรฐานการเรียนรู้รายวิชาและตัวชี้วัด
|
||||||
วิทยาศาสตร์
|
สังคมศึกษา
ศาสนา
และวัฒนธรรม
|
สุขศึกษาและพลานามัย
|
ศิลปศึกษา
|
การงานอาชีพและเทคโนโลยี
|
ประวัติศาสตร์
|
หน้าที่พลเมือง
|
|
|
- ให้ผู้อื่นทราบผ่านการวาดภาพ บรรยายและร่วมกันแสดงความคิดเห็น
แสดงความรู้สึกต่อกิจกรรมที่ได้ทำ
(ว
8.1 ป.1/4-6)
-ถ่ายทอดความเข้าใจเกี่ยวกับการงานปั้นจากดินชนิดต่างๆ (ว 8.1 ป.1/7)
|
มีส่วนร่วมในการจัดสรรทรัพยากรในชุมชนของตน
(ส 5.2 ป. 1/3)
|
|
|
|
|
|
5.ปั้นจากกระดาษ
-
กระดาษ (เช่น กระดาษลัง หนังสือพิมพ์ฯลฯ )
-
กระดาษทิชชู
|
มาตรฐาน
ว 1.1
-
เปรียบเทียบความแตกต่างของวัสดุที่นำมาปั้น
(ว
1.1 ป.1/1)
|
มาตรฐาน
ส 2.1
- ปฏิบัติตนเป็นสมาชิกที่ดีของครอบครัว
โรงเรียนและชุมชนที่ตนอยู่อาศัยทั้งในปัจจุบันและอนาคต
(ส 2.1
ป. 1/1)
|
มาตรฐาน
พ.2.1
- ระบุแนวโน้มอนาคตของความ สัมพันธ์ของเมล็ดพันธุ์ต่างๆในอนาคตได้
(พ 2.1
ป. 1/1)
-
อธิบายเกี่ยวกับสิ่งที่ตนชื่นชอบ
ความ
|
มาตรฐาน
ศ 1.1
- อธิบายเกี่ยวกับรูปร่าง
ลักษณะและขนาดของสิ่งต่างๆรอบตัวในธรรมชาติและสิ่งที่มนุษย์สร้างขึ้นในอนาคตได้
(ศ 1.1
ป. 1/1)
|
มาตรฐาน
ง 1.1
-
อธิบายวิธีการทำงานเพื่อช่วยเหลือตนเองในอนาคตโดยใช้วัสดุ
อุปกรณ์ เครื่องมือในการทำงานได้อย่างเหมาะสม ประหยัด
|
มาตรฐาน
ส 4.1
-
อธิบายเกี่ยวกับวัน
เดือน ปีและการนับช่วงเวลาตามปฏิทินที่ใช้ในชีวิตประจำวันได้
(ส
4.1 ป.1/1)
-เรียงลำดับเหตุ
|
จุดเน้นที่
1
- ปฏิบัติตนเป็นผู้มีมารยาทไทย
- แสดงออกถึงความกตัญญูกตเวทีต่อบุคคลในครอบครัว
- เห็นความสำคัญของภาษาไทย
|
สาระการเรียนรู้
|
มาตรฐานการเรียนรู้รายวิชาและตัวชี้วัด
|
||||||
วิทยาศาสตร์
|
สังคมศึกษา
ศาสนา
และวัฒนธรรม
|
สุขศึกษาและพลานามัย
|
ศิลปศึกษา
|
การงานอาชีพและเทคโนโลยี
|
ประวัติศาสตร์
|
หน้าที่พลเมือง
|
|
6.ปั้นกินได้
-
ฟองดอง
-
แป้งหมัก
-
ถั่วต่างๆ
- ข้าว
7.ความสัมพันธ์
- วิถีชีวิต
- ทัศนศึกษา
|
มาตรฐาน ว
1.2
-
ระบุลักษณะของสิ่งมีชีวิตและสิ่งไม่มีชีวิตในท้องถิ่นในอนาคตได้
(ว 1.2 ป.1/1)
มาตรฐาน
ว 1.8
- ตั้งคำถามเกี่ยวกับสิ่งที่กินได้และนำมาปั้น (ว 1.8 ป.1/1)
- สังเกต วิเคราะห์ ใคร่ครวญเกี่ยวกับการสร้างสรรค์ในการปั้นโดยใช้ความ คิดของตนหรือผู้รู้ได้
(ว 1.8 ป.1/2)
-
แสดงความคิดเห็นและอธิบายงานปั้นกับอาหาร
หรือเขียนภาพหรือข้อความสั้นๆได้
(ว
1.8 ป.1/5-6)
|
- เห็นคุณค่าผู้อื่นและรู้ผลของการกระทำในด้านด้านต่างๆทั้งของตนเองและผู้อื่น
(ส 2.1 ป. 1/2)
มาตรฐาน
ส 2.2
- อธิบายเกี่ยวกับโครงสร้าง บทบาทและหน้าที่ของสมาชิกของครอบ ครัว
โรงเรียนและชุมชนในอนาคตได้(ส 2.2 ป. 1/1)
รู้จักบทบาท สิทธิหน้าที่ของตนเองในฐานะที่เป็นสมาชิกส่วนหนึ่งของสังคมแลรู้จักเคารพ
ให้เกียรติผู้อื่น
(ส 2.2 ป. 1/2)
มีส่วนร่วมในการ
|
-
ภาคภูมิใจและความใฝ่ฝันในอนาคตได้
(พ 2.1
ป. 1/2)
- อธิบายลักษณะของผู้หญิงและผู้ชายในอนาคตได้
(พ 2.1
ป. 1/3)
มาตรฐาน
พ 3.2
-รู้จักดูแลตนเอง
ออกกำลังกาย
รับประทานอาหารที่มีประโยชน์และพักผ่อนให้เพียงพอเพื่อสุขภาพทีดีทั้งในปัจจุบันและอนาคต
(พ 3.2 ป. 1/1)
มาตรฐาน
พ 4.1
-อธิบายอาการเจ็บป่วยที่อาจเกิดขึ้นกับตนเองในอนาคตได้
|
-อธิบายความรู้สึก
ของตนเองที่มีต่อธรรมชาติและสิ่งรอบตัว
(ศ 1.1
ป. 1/2)
- มีทักษะในการใช้
วัสดุ
อุปกรณ์สรรค์สร้างชิ้นงานเพื่อถ่ายทอดเรื่องราวหรือลักษณะของหมู่บ้านในอนาคตได้
(ศ 1.1
ป. 1/3)
-วาดภาพเพื่อสื่อ
ถึงลักษณะของหมู่บ้านในอนาคตโดยใช้สีต่างๆ
(ศ 1.1 ป. 1/4)
-วาดภาพหมู่บ้านในอนาคตตามความคิดหรือความรู้สึกของตนเอง
|
-
และปลอดภัย
(ง 1.1
ป. 1/1-2)
- ทำงานเพื่อช่วยเหลือตนเอง ครอบครัวอย่างตั้งใจ กระตือรือร้น อดทน
รับผิดชอบและตรงต่อเวลา
(ง 1.1
ป. 1/3)
มาตรฐาน
ง 1.1
- รู้จักวางแผนและลงมือทำงานเพื่อให้งานสำเร็จลุล่วง (ง 1.1
ป.1/1)
- ใช้วัสดุอุปกรณ์และเครื่องมือในการทำงานได้อย่างเหมาะสม
ประหยัดและปลอดภัย
(ง 1.1
ป.1/2)
- ทำงานด้วยความเอาใจใส่
|
การณ์ที่เกิดขึ้นในหมู่บ้านจากอดีต
ปัจจุบันและอนาคตได้
(ส
4.1 ป.1/2)
-บอกประวัติความ
เห็นมาของตนเอง ครอบครัว หมู่บ้านที่ตนอาศัยโดยการสอบถามจากผู้เกี่ยวของเช่น
พ่อแม่ ปู่ย่า ตายาย
(ส 4.1 ป.1/3)
มาตรฐาน
ส 4.2
-อธิบายและเปรียบเทียบความเปลี่ยนแปลงของสภาพแวดล้อม
สิ่งของ เครื่องใช้หรือการดำเนินชีวิตของตนเองในปัจจุบันและอนาคตได้
|
จุดเน้นที่
2
- เข้าร่วมกิจกรรมเกี่ยวกับชาติ ศาสนา และสถาบันพระมหากษัตริย์
- ปฏิบัติตนตามหลักการทรงงาน
และหลักปรัชญาของเศรษฐกิจ พอเพียง
จุดเน้นที่
3
- ปฏิบัติตนตามข้อตกลง
กติกา และหน้าที่ที่ต้องปฏิบัติ ในห้องเรียน
- การปฏิบัติตนตามบทบาทหน้าที่ในฐานะสมาชิกที่ดีของครอบครัวและห้องเรียน
จุดเน้นที่
4
- ยอมรับความเหมือนและความ
|
สาระการเรียนรู้
|
มาตรฐานการเรียนรู้รายวิชาและตัวชี้วัด
|
||||||
วิทยาศาสตร์
|
สังคมศึกษา
ศาสนา
และวัฒนธรรม
|
สุขศึกษาและพลานามัย
|
ศิลปศึกษา
|
การงานอาชีพและเทคโนโลยี
|
ประวัติศาสตร์
|
หน้าที่พลเมือง
|
|
|
นำเสนอแนวคิดด้วยวาจาเกี่ยวกับอาหารหลัก
5 หมู่
(ว
1.8 ป.1/7)
มาตรฐาน
ว 3.1
- สังเกตและระบุลักษณะที่ปรากฏ หรือคุณสมบัติของวัสดุที่นำมาใช้ในงานปั้น
(ว 3.1 ป.1/1)
จำแนกวัสดุ อุปกรณ์และอธิบายขั้นตอนในการทำงานปั้น
(ว 3.1 ป.1/2)
|
ตัดสินใจและทำกิจกรรมในครอบครัว โรงเรียนและชุมชนตามกระบวนการประชาธิปไตย
(ส 2.2
ป. 1/3)
มาตรฐาน
ส 3.1
-ตระหนัก เห็นคุณ ค่าของทรัพยากรในท้องถิ่นและรู้จักใช้ทรัพยากรอย่างคุ้มค่าโดยคำนึงถึงอนาคต
(ส 3.1 ป. 1/3)
มาตรฐาน
ส 5.2
อธิบายเกี่ยวกับสิ่งต่างๆรอบตัวที่ส่งผลต่อความเป็นอยู่ของผู้คนในอดีตปัจจุบันและอนาคต
(ส 5.2 ป. 1/1)
- สังเกตและ
|
(พ 4.1 ป. 1/2)
-ปฏิบัติตนได้ถูกต้องเมื่อมีอาการเจ็บป่วยจากการทำงานที่อาจเกิดขึ้นได้
(พ 4.1 ป. 1/3)
มาตรฐาน
พ 5.1
-ระบุสิ่งที่อาจทำให้เกิดอันตรายจากที่บ้าน โรงเรียนและการป้องกัน
(พ
5.1 ป. 1/1)
-อธิบายสาเหตุและการป้องกันอันตรายที่เกิดจากการเล่นหรือการทำงานในอนาคต
(พ 5.1 ป. 1/2)
-
แสดงคำพูดหรือท่าทางขอความช่วยเหลือจากผู้อื่นเมื่อเกิดเหตุร้ายขึ้น
|
(ศ
1.1 ป. 1/5
มาตรฐาน
ศ 1.1
-
อธิบายเกี่ยวกับ
รูปร่าง รูปทรงของวัสดุต่างๆในการทำกิจกรรมผู้ปกครองอาสา (ศ 1.1
ป.1/1)
-
อธิบายความรู้สึกของตนเองต่อวัสดุ
อุปกรณ์ ขั้นตอนในการทำกิจกรรมต่างๆ
(ศ 1.1 ป.1/2)
มีทักษะในการใช้วัสดุอุปกรณ์ในการสรรค์สร้างชิ้นงานเพื่อสรุปสิ่งที่ตนได้เรียนรู้ในการทำกิจกรรมให้ผู้อื่นทราบ
(ศ 1.1 ป.1/3)
-
ถ่ายทอดความเข้าใจเกี่ยวกับการทำกิจกรรมร่วมกับ
|
- กระตือรือร้น อดทนอดกลั้นและรับผิดชอบต่อสิ่งที่ได้รับมอบหมาย
(ง 1.1
ป.1/3)
|
(ส 4.2
ป.1/1)
-อธิบายเหตุการณ์ที่เกิดขึ้นในอดีตที่มีผลกระทบต่อชีวิตผู้คนในปัจจุบันและอนาคตได้
(ส 4.2
ป.1/2)
มาตรฐาน ส 4.1
- อธิบายเกี่ยวกับวัน เดือน
ปีและการนับช่วงเวลาตามปฏิทินในการทำกิจกรรมกับผู้ปกครองอาสา
(ส 4.1 ป.1/1)
- เรียงลำดับของกิจกรรมที่ร่วมทำกับผู้ปกครองอาสา (ส 4.1 ป.1/2)
- อธิบายเรื่องราว
ที่มาของผลิตภัณฑ์จากการแลกเปลี่ยนเรียนรู้กับผู้ปกครอง
|
แตกต่างของตนเองและผู้อื่น
- ยกตัวอย่างความขัดแย้งในห้องเรียนและเสนอวิธีการแก้ปัญหาโดยสันติวิธี
จุดเน้นที่
5
ปฏิบัติตนเป็นผู้มีวินัยในตนเอง
|
สาระการเรียนรู้
|
มาตรฐานการเรียนรู้รายวิชาและตัวชี้วัด
|
||||||
วิทยาศาสตร์
|
สังคมศึกษา
ศาสนา
และวัฒนธรรม
|
สุขศึกษาและพลานามัย
|
ศิลปศึกษา
|
การงานอาชีพและเทคโนโลยี
|
ประวัติศาสตร์
|
หน้าที่พลเมือง
|
|
|
มาตรฐาน ว 8.1
-ตั้งคำถามเกี่ยวกับกิจกรรมผู้ปกครองอาสาตามที่ตนเองสนใจ
(ว 8.1 ป.1/1)
-วางแผนการทำงาน สำรวจ ตรวจสอบ ศึกษาค้นคว้าเกี่ยว กับกิจกรรมที่ทำตามความคิดของตนหรือผู้รู้
(ว 8.1
ป.1/2)
- แสดงความคิดเห็นในการทำกิจกรรม บันทึกและอธิบายเกี่ยวกับ วัสดุ อุปกรณ์และขั้นตอนโดยการวาดภาพหรือเขียน
|
- เปรียบเทียบ
แนวโน้มของการเปลี่ยน แปลงของสภาพแวดล้อมในอนาคต
(ส 5.2 ป. 1/2)
-
มีส่วนร่วมในการจัดระเบียบสิ่งแวด
ล้อมที่บ้าน โรงเรียนและชุมชน
(ส 5.2 ป. 1/3)
มาตรฐาน
ส 2.1
ปฏิบัติตนอย่าง
เหมาะสมในการทำงานร่วมกับผู้อื่น
(ส 2.1 ป.1/1)
มาตรฐาน
ส 2.2
- อธิบายเกี่ยวกับ
โครงสร้าง บทบาทและหน้าที่ในฐานะที่เป็นสมาชิกของครอบครัว โรงเรียน
|
(พ 5.1 ป. 1/3)
มาตรฐาน
พ 2.1
- มีความเข้าใจ เห็น
คุณค่าของครอบครัว
และเพื่อนในชั้นในฐานะที่เป็นส่วนหนึ่งของสังคม (พ 2.1
ป.1/1)
- อธิบายสิ่งที่ตนชื่น
ชอบหรือถนัดในการทำกิจกรรมร่วมกับผู้ปกครองอาสา
(พ 2.1 ป.1/2)
มาตรฐาน
พ 3.1
- เคลื่อนไหวร่างกาย
เพื่อทำงานร่วมกับผู้ปกครองอาสา
(พ 3.1 ป.1/1)
มาตรฐาน
พ 4.1
- อธิบายเกี่ยวกับ
อาการเจ็บป่วยหรือบาดเจ็บที่เกิดขึ้นจาก
|
-
ผู้ปกครองอาสาผ่านชิ้นงานที่หลากหลายโดยใช้สีต่างๆ
(ศ 1.1 ป.1/4)
-
วาดภาพระบายสีเกี่ยวกับวัสดุ
อุปกรณ์ ขั้นตอนในการทำกิจกรรมร่วมกับผู้ปกครองอาสา
(ศ 1.1 ป.1/5)
|
|
- อาสาโดยการสอบถามผู้ที่เกี่ยวข้อง
(ส 4.1 ป.1/3)
มาตรฐาน ส 4.3
มีความภาคภูมิใจในเมล็ดพันธุ์พื้นบ้านที่อยู่ในท้องถิ่นของตน
(ส 4.3 ป.1/3)
|
|
สาระการเรียนรู้
|
มาตรฐานการเรียนรู้รายวิชาและตัวชี้วัด
|
||||||
วิทยาศาสตร์
|
สังคมศึกษา
ศาสนา
และวัฒนธรรม
|
สุขศึกษาและพลานามัย
|
ศิลปศึกษา
|
การงานอาชีพและเทคโนโลยี
|
ประวัติศาสตร์
|
หน้าที่พลเมือง
|
|
|
- ข้อความสั้นๆ
(ว
8.1 ป.1/5-6)
-นำเสนอด้วยวาจาเกี่ยวกับสิ่งที่
ตน ได้เรียนรู้จากกิจกรรมผู้ปกครองอาสาให้ผู้อื่นเข้าใจได้
(ว 8.1 ป.1/7)
|
และชุมชน
(ส 2.2 ป.1/1)
- รู้จักบทบาท
สิทธิและหน้าที่ของตนเองและเคารพสิทธิหน้าที่ของผู้อื่น (ส 2.2
ป.1/2)
- มีส่วนร่วมในการ
ตัดสินใจและทำกิจกรรมเพื่อแลกเปลี่ยนเรียนรู้กับผู้ปกครองอาสา
(ส 2.2 ป.1/3)
มาตรฐาน
ส 3.1
-
สามารถนำวัตถุดิบที่มีในท้องถิ่นมาเพิ่มมูลค่าหรือแปรรูปเพื่อให้เกิดประโยชน์ต่อตนเองและผู้อื่น
(ส 3.1 ป.1/1)
- เห็นคุณค่าและใช้
|
การทำงาน
(ส 4.1 ป.1/1)
-
อธิบายเกี่ยวกับอาการที่เกิดขึ้นจากการเจ็บป่วยหรือบาดเจ็บจากการทำงาน
(ส 4.1 ป.1/2)
- ปฏิบัติอย่างถูกต้อง เหมาะสมตามคำ
แนะนำเมื่อมีอาการเจ็บป่วยหรือบาดเจ็บ
(ส 4.1 ป.1/3)
มาตรฐาน
พ 5.1
แสดงท่าทางขอความช่วยเหลือจากผู้อื่นเมื่อประสบเหตุร้ายจากการทำงาน
(ส 5.1 ป.1/1)
|
|
|
|
|
สาระการเรียนรู้
|
มาตรฐานการเรียนรู้รายวิชาและตัวชี้วัด
|
||||||
วิทยาศาสตร์
|
สังคมศึกษา
ศาสนา
และวัฒนธรรม
|
สุขศึกษาและพลานามัย
|
ศิลปศึกษา
|
การงานอาชีพและเทคโนโลยี
|
ประวัติศาสตร์
|
หน้าที่พลเมือง
|
|
|
|
ทรัพยากรที่มีใน
ท้องถิ่นได้อย่างประหยัดและคุ้มค่า (ส 3.1
ป.1/3)
มาตรฐาน
ส 3.2
เห็นคุณค่าของการทำงานเพื่อประโยชน์ของตนเองและผู้อื่น
(ส 3.2 ป.1/1)
มาตรฐาน
ส 5.2
มีส่วนร่วมในการทำงานร่วมกับผู้ปกครองอาสา
(ส 5.2 ป.1/1)
|
|
|
|
|
|
8.สรุปองค์ความรู้
- เผยแพร่ ถ่ายทอดองค์ความรู้
- สิ่งที่ทำได้ดีและสิ่งที่ต้องพัฒนา
|
มาตรฐาน
ว 8.1
- ตั้งคำถามและหาคำตอบโดยใช้กระบวนการทางวิทยา ศาสตร์
เกี่ยวกับสิ่งที่เรียนรู้ผ่านการทำชิ้นงานแล้วนำเสนอให้ผู้อื่น
|
มาตรฐาน
ส 2.1
- สามารถยอมรับความคิดเห็น และการปฏิบัติที่แตกต่างของบุคคลอื่นโดยไม่มีอคติ(ส
2.1 ป. 2/1)
- เคารพสิทธิของตนเองและไม่ละเมิด
|
มาตรฐาน
พ 2.1
- ระบุบทบาทหน้าที่ของตนเองต่อผู้อื่นในการวางแผนสรุปการเรียนรู้
(พ
2.1 ป.1/1)
- เข้าใจและสามารถอธิบายความสำคัญ
|
มาตรฐาน
ศ 1.1
-ใช้วัสดุอุปกรณ์ในการสร้างสรรค์ผลงานได้อย่างเหมาะสม
(ศ 1.1 ป.1/3)
-วาดภาพสื่อความหมายเนื้อหา
|
มาตรฐาน
ง 1.1
-ใช้และสามารถระบุวัสดุ เครื่องมือ
และอุปกรณ์ที่ในการทำงานได้อย่างเหมาะสมและประหยัด
(ง 1.1 ป.1/2)
|
มาตรฐาน
ส 4.1
-
สามารถวิเคราะห์เหตุการณ์ที่เกิดขึ้นและมีผลต่อวิถีชีวิตได้อย่างเป็นระบบ
(ส 4.1 ป./2)
มาตรฐาน ส 4.2
-
อธิบายเกี่ยวกับสิ่ง
|
จุดเน้นที่
1
- ปฏิบัติตนเป็นผู้มีมารยาทไทย
- แสดงออกถึงความกตัญญูกตเวทีต่อบุคคลในครอบครัว
- เห็นความสำคัญของภาษาไทย
|
สาระการเรียนรู้
|
มาตรฐานการเรียนรู้รายวิชาและตัวชี้วัด
|
||||||
วิทยาศาสตร์
|
สังคมศึกษา
ศาสนา
และวัฒนธรรม
|
สุขศึกษาและพลานามัย
|
ศิลปศึกษา
|
การงานอาชีพและเทคโนโลยี
|
ประวัติศาสตร์
|
หน้าที่พลเมือง
|
|
|
เข้าใจในสิ่งที่ตนศึกษา
(ว 8.1 ป.1/1)
-จัดกลุ่มข้อมูลเปรียบเทียบ
นำเสนอผลการเรียนรู้โดยการแสดงความคิดเห็นเป็นกลุ่ม
วิเคราะห์ตอบคำถามเกี่ยวกับสิ่งที่อยากเรียนรู้ พร้อมทั้งสามารถระบุสิ่งที่ดีแล้วและสิ่งที่ควรปรับปรุงได้ (ว 8.1 ป.2/4-5)
-บันทึกและอธิบายผลจากการศึกษาค้นคว้า โดยสรุปองค์ความรู้ตามรูปแบบ Mind
mapping หรือรูปแบบอื่น
|
สิทธิของผู้อื่นในการเลือกและตัดสินใจ (ส 2.1
ป. 2/4)
มาตรฐาน ส 2.2
- รู้บทบาทหน้าที่ของตนเอง
สามารถยอมรับและปฏิบัติตามหน้าที่ของตนเองได้ (ส 2.2
ป. 2/2)
|
- ของสิงที่เรียนรู้รวมทั้งสามารถนำไปใช้ในชีวิตประจำวัน (พ
2.1 ป.1/2)
-
เคารพ ให้เกียรติเพื่อน บอกความ สำคัญของเพื่อนต่อกระบวนการเรียนรู้
การทำงาน และการทำกิจกรรมต่างๆ
(พ 2.1 ป.2/3)
|
และเรื่องราวที่ได้ได้ศึกษาให้ผู้อื่นเข้าใจต่างๆได้
(ศ1.1 ป.2/5)
มาตรฐาน ศ 3.1
- แสดงท่าทางเพื่อสื่อความหมายเกี่ยวกับสิ่งที่ได้เรียนรู้ผ่านบทละคร
(ศ 3.1 ป.1/2)
-มีมารยาทในการนำเสนองานและการเป็นผู้ชมที่ดี (ศ 3.1 ป.1/3)
|
-ทำงานได้ด้วยตนเอง
แก้ไขปัญหาที่เกิดขึ้นและมีความระมัดระวังรอบคอบในการทำงาน
(ง 1.1
ป. 2/5)
-ปฏิบัติตนอย่างมีมารยาทในการทำงานสามารถทำงานได้บรรลุเป้าหมายที่วางไว้อย่างมีความรับผิดชอบ
(ง 1.1 ป.4/2-3)
|
-
ที่ตนได้เรียนรู้โครงงานหมู่บ้านแสนสุขสันต์เพื่อสรุปสิ่งที่ตนได้เรียนรู้ให้ผู้อื่นทราบ
(ส
4.2 ป.1/3)
มาตรฐาน ส 4.3
มีความภาคภูมิใจในท้องถิ่น มีส่วนในการอนุรักษ์และสืบสานประเพณี
(ส
4.3 ป.1/3)
|
จุดเน้นที่
2
- เข้าร่วมกิจกรรมเกี่ยวกับชาติ ศาสนา และสถาบันพระมหากษัตริย์
- ปฏิบัติตนตามหลักการทรงงาน
และหลักปรัชญาของเศรษฐกิจ พอเพียง
จุดเน้นที่
3
- ปฏิบัติตนตามข้อตกลง
กติกา และหน้าที่ที่ต้องปฏิบัติ ในห้องเรียน
- การปฏิบัติตนตามบทบาทหน้าที่ในฐานะสมาชิกที่ดีของครอบครัวและห้องเรียน
จุดเน้นที่
4
- ยอมรับความ
|
สาระการเรียนรู้
|
มาตรฐานการเรียนรู้รายวิชาและตัวชี้วัด
|
||||||
วิทยาศาสตร์
|
สังคมศึกษา
ศาสนา
และวัฒนธรรม
|
สุขศึกษาและพลานามัย
|
ศิลปศึกษา
|
การงานอาชีพและเทคโนโลยี
|
ประวัติศาสตร์
|
หน้าที่พลเมือง
|
|
|
(ว 8.1 ป.2/6)
|
|
|
|
|
|
เหมือนและความแตกต่างของตนเองและผู้อื่น
- ยกตัวอย่างความขัดแย้งในห้องเรียนและเสนอวิธีการแก้ปัญหาโดยสันติวิธี
จุดเน้นที่
5
ปฏิบัติตนเป็นผู้มีวินัยในตนเอง
|